Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
TNI : อายุรกรรม, มักพบระบาดในเด็กตามหมู่บ้าน รร ช่วงฤดูแล้ง ติดต่อโดย ไอ…
TNI : อายุรกรรม
20 โรคคางทูม Mumps
Def.
- โรคติดต่อทางระบบทางเดินหายใจ ที่ติดเชื้อไวรัสจากคนสู่คน โดยสัมผัสละอองน้ำลายของผู้ที่ติดเชื้อ จากการไอหรือจาม
- ไวรัสจะเคลื่อนจากระบบทางเดินหายใจ --> ต่อมน้ำลายบริเวณข้างหู --> เกิดการอักเสบ --> เกิดอาการเจ็บปวดและบวมแดง
- แพร่กระจาย --> น้ำหล่อเลี้ยงสมองและไขนหลัง --> แพร่ไปที่อื่นในร่างกาย --> เกิดภาวะแทรกซ้อนได้ เช่น ภาวะแทรกซ้อนในระบบสืบพันธุ์
สาเหตุ
:red_flag: เกิดจากการติดเชื้อไวรัส มัมส์ (Mumps) ที่อยู่ในอากาศ
- สามารถแพร่กระจายได้โดยการไอ จาม หรือสัมผัสละอองของเหลวทั้งน้ำลายและน้ำมูกจากผู้ป่วยที่อาจแฝงอยู่ตามวัตถุต่างๆ เช่น ลูกบิดประตู โต๊ะ หรือแม้แต่ใช้สิ่งของส่วนตัวร่วมกับ pt โรคนี้
:red_flag: ผู้ป่วยจะแพร่เชื้อก่อนมีอาการบวมของต่อมน้ำลายบริเวณข้างหู 2-3 วัน
- เชื้อไวรัสเคลื่อนจากระบบทางเดินหายใจ ตั้งแต่จมูก ปาก ลำคอ ไปยังต่อมน้ำลายบริเวณข้างหูข้างใดข้างหนึ่งหรือทั้ง 2 ข้าง
- ระยะฟักตัว 16-18 วัน บางรายอาจมีระยะฟักตัวนานถึ 25 วัน
- พบมากในเด็กที่มีอายุต่ำกว่า 15 ปีโดยเด็กที่มีอายุ 5-9 ปี จะมีอัตรการป่วยสูงที่สุด หรือกลุ่มผู้ที่ไม่ได้รับวัคซีน
อาการ
:star: อาการผิดปกติที่สังเกตได้ คือ ต่อมน้ำลายบริเวณข้างหูเจ็บและบวมอย่างเห็นได้ชัด
:star: ปรากฏอาการเบื้องตันของโรค
- มีไข้สูง (38 องศาเซลเซียส หรืออาจสูงกว่า)
- ปากแห้ง
- เบื่ออาหาร
- ปวดศีรษะ
- ปวดตามข้อ
- ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ
- เหนื่อยล้า อ่อนเพลีย
การวินิจฉัย
- ซักประวัติการเจ็บป่วย
- ตรวจการบวมของต่อมน้ำลายที่ข้างหู และต่อมทอนซิลในปาก
- ตรวจวัดอุณหภูมิของผู้ป่วยว่าอยู่ในระดับที่สูงผิดปกติหรือไม่
- ตรวจสารก่อภูมิต้นทาน (Antigen) ในเลือด
การรักษา
- ปัจจุบันยังไม่มียารักษาโดยเฉพาะ
- รักษาบรรเทาอาการและทำให้ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายแข็งแรงขึ้น
:check: ดื่มน้ำสะอาดมาก ๆ
:check: นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอจนกว่าอุณหภูมิในร่างกายจะลดลงเป็นปกติิ
:check: รับประทานยาลดไข้ Paracetamol หรือ Ibuprofen
:check: หลีกเลี่ยงอาหารหรือน้ำผลไม้ที่มีรสเปรี้ยว เช่น น้ำส้ม นำมะนาว เพราะกรดในน้ำผลไม้จะทำให้ต่อมน้ำลายเกิดการระคายเคือง และทำให้ปวดบวมมากขึ้น
:check: ประคบร้อนหรืประคบเย็น เพื่อช่วยลดอาการปวดบวมที่บริเวณต่อมน้ำลาย
:check: รับประทานอาหารอ่อนหรืออาหารเหลว เช่น โจ๊กหรือซุป เพื่อลดการเคี้ยวและการกระแทกในบริเวณที่ปวดบวม
ภาวะแทรกซ้อน
:star: โรคคางทูมต้องรักษาให้หาย เพราะถ้าไม่หายอาจทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อน
- ลูกอัณฑะอักเสบ 25% เป็นหมันได้
- รังไข่อักเสบ 1 ใน 20
- เยื่อหุ้มสมองอักเสบจากไวรัส
- ตับอ่อนอักเสบ หรือตับอ่อนอักเสบเฉียบพลัน
- สูญเสียการได้ยิน ในผู้ป่วยคางทูม 1 ใน 20 คนอาจสูญเสียการได้ยินแบบชั่วคราว
-
10 ท้องเดิน
-
สาเหตุ
Acute
-
-
-
ยา เช่น ยาถ่าย, ยาลดกรด, ATB (เตตราไซคลีน, Amoxycillin, Erythomycin) ,คอลชิซีน(ยาโรคเกาต์)
-
-
การวินิจฉัย
-
-
-
เอกซเรย์โดยการสวนแป้งแบเรียมทางลำไส้ใหญ่ หรือ ส่องกล้องตรวจทางทวารหนัก เพื่อตรวจดูความผิดปกติ? เพื่อหาสาเหตุ
การรักษา
-
:forbidden: อันตราย --> การเสียน้ำและเกลือแร่ จึงควรแนะนำให้ ปชช รู้จักการใช้ผงน้ำตาลเกลือแร่ น้ำเกลือ ผสมเอง
ยาที่ใช้รักษา
-
ยาดูดซับสารพิษหรือเชื้อจุลชีพต่าง ๆ เช่น Bismuth , Kaolin , Pectin
ตัวอย่างยา >> Bismuth Soda (ยาธาตุน้ำขาว)
ติดเชื้อให้ ATB ที่รักษาเฉพาะเชื้อโรค เช่น โรคอหิวาต์ โรคบิดมีตัว และโรคทัยฟอยด์ :star:Norfloxacin 200 / 400 1 x 2 BID
12 การอักเสบต่าง ๆ
-
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อโรค >> แบคทีเรีย ไวรัส เชื้อรา การบาดเจ็บภายนอก( รอยขูด กรีด หรือวัตถุแปลกปลอม ผลกระทบทางเคมี รังสี
-
สาเหตุการอักเสบที่พบบ่อย
-
-
-
-
-
-
การบาดเจ็บทางกายภาพ การช้ำหรือบาดแผล (Physical injury, blunt or penetrating)
-
-
-
อาการของการอักเสบ
-
-
-
-
5 สูญเสียการทำงาน อาจเกิดจากความปวดที่ไปจำกัดการเคลื่อนไหว หรือจากการบวมอย่างรุนแรงกีดขวางการเคลื่อนไหว
-
การรักษาการอักเสบ
การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล
ATB ยาฆ่าเชื้อ/ยั้บยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย
- อยู่ภายใต้การดูแลของแพทย์/เภสัชกร อย่างเคร่งครัด
- กินยา ATB ให้ครบ
:no_entry: กรณีกินไม่ครบ กลับเป็นซ้ำหรือเกิดผลแทรกซ้อนรุนแรงกว่าเดิม
ใช้ยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ NSAIDs >> Ibuprofen, Diclofenac, Mefenamic acid
-
กรณีติดเชื้อแบคทีเรีย ให้ ATB 5 - 14 Day
- Amoxicillin
- Tetracyclin
- Penicillin
- Azithromycin
13 โลหิตจาง
Definition
การที่ปริมาณเม็ดเลือดแดงในเลือดน้อยกว่าปกติ ทำให้การนำ Oxygen ไปอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกายด้อยประสิทธิภาพลง
:star: RBC หน้าที่นำ Oxygen ไปยัง organ ต่าง ๆ ของร่างกาย
โดยมี Hb ที่อยู่ใน RBC ทำหน้าที่โดยตรงในการนำ Oxygen ไปยัง organ ต่าง ๆ สามารถจับ O2 เพิ่มหลายตัว
อาการ
- อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย ใจสั่น มึนงง หน้ามืด
วิงเวียน เบื่ออาหารร่วม
- อาการซีด บริเวณหน้า เยื่อบุเปลือกตา ริมฝีปาก ลิ้น ฝ่ามือและเล็บ
- :warning: มีอาการเรื้อรัง อาจมีมุมปากเปื่อย เล็บมี ลษณ อ่อนแอและแบน / เล็บเงยขึ้นมีแอ่งตรงกลางคล้ายช้อน
สาเหตุ
พบบ่อย :star: การขาดสารอาหาร
- ขาดธาตุเหล็ก
ซีดจากการถ่ายทอดทางพันธุกรรม
- Thalassemia
- โรค G - 6PD
การสูญเสียเลือดเรื้อรัง
- สตรี สูญเสียเลือดจากการมี ปจด
- โรคที่มีการสูญเสียเลือดออกทางเดินอาหาร
เช่น แผลในกระเพาะอาหาร
ริดสีดวงทวาร--> เลือดออกทางทวารหนัก
มีพยาธิปากขอในลำไส้
-
การรักษา
:check:รักษาสาเหตุของการเสียเลือดเรื้อรัง
- โรคแผลในกระเพาะอาหาร , ริดสีดวงทวาร
- ประจำเดือนมาก ปรึกษานรีแพทย์ เพื่อทำการรักษา
- พยาธิในลำไส้ --> ถ่ายพยาธิ
:check:โลหิตจางจากการขาดสารอาหาร --> ให้ยาเสริมสารอาหาร/ธาตุเหล็ก (Vit B12, Folic acid, Vit C):check: โลหิตจางจากการถ่ายทอดทางพันธุกรรม Thalassemia , G6PD --> ตรวจเลือดเพิ่ม เพื่อทราบสาเหตุแน่นอนและรับรักษาจำเพาะ
14 ดีซ่าน: Jaundice
โรคที่เป็นสาเหตุ
- โรคติดเชื้อของตับ -> ไวรัสตับอักเสบ A B C , โรคฉี่หนู
- โรคติดเชื้อ -> ไข้มาลาเรีย เกิดจากเม็ดเลือดแดงแตก
- โรคตับอักเสบจากยาบางชนิด -> ยาวัณโรค ATB บางชนิด
- โรคตับอักเสบจาก โรคภูมิแพ้ตนเอง
- โรคจากการมีการอุดตันของทางเดินน้ำดี -> โรคนิ่วในถุงน้ำดี โรคมะเร็งตับ โรคมะเร็งตับอ่อน
- โรคเลือดบางชนิด -> G6PD Thalassemia
สาเหตุของดีซ่าน ที่พบบ่อย
:red_flag: โรคตับอักเสบ
:red_flag: โรคไข้ไทฟอยด์
:red_flag: โรคมาลาเรีย
:red_flag: โรคตับแข็งจากพิษสุราเรื้อรัง
:red_flag: โรคมะเร็งในตับ
:red_flag: โรคเลือดอื่น ๆ
การวินิจฉัย
:star: การซักประวัติ
- ประวัติครอบครัว -> ประวัติโรคเลือด
- ประวัติการเจ็บป่วย
- ประวัติโรคประจำตัว
- ประวัติการใช้ยาทั้งแผนปัจจุบัน ยาสมุนไพร
:star: การตรวจร่างกาย
:star: การตรวจพิเศษ -> เลือด / UA / X ray พิเศษบางอย่าง
การรักษา
ขึ้นกับสาเหตุของโรค มีทั้งรักษาได้/ไม่ได้
:check: แพ้ยา -> หยุดยา อาการดีขึ้น
:check: รักษาตามโรค โรคมาลาเรีย , โรคตับอักเสบ -> อาการหาย
:check: โรคมะเร็ง มักไม่หาย
:check: โรคตับแข็งอาการแย่ลง
:check: เกิดจากการอุดตันของท่อน้ำดี -> ผ่าตัดอุดตันอาการดีซ่าน แต่หากสาเหตุอุดตัน คือ CA Liver อาการดีซ่านไม่หาย
Def. อาการตัวเหลือง ตาเหลือง
:red_flag: กลไกการเกิด มีปริมาณ Bilirubin สารสีเหลืองในเลือดสูงเกินปกติ -> มี Bilirubin ในเลือดสูงกว่าปกติ -> Bilirubin เข้าไปจับกับเนื้อเยื่อ -> เกิดมีสีเหลืองตามร่างกาย (ผิวหนังทั่วตัว , ตาขาว)
:<3: ตับผลิต Bilirubin และขับออกจากร่างกายโดยปนกับน้ำดี (Bile) -> ขับออกทางท่อน้ำดี -> ลำไส้ใหญ่ -> อุจจาระ
-
-
-
18 โรคบิด Dysentery
อาการท้องเสียรุนแรง จากเชื้อ Shigella หรือ E. histolytica
:star: อาการหลัก ท้องเสีย ถ่ายอุจจาระบ่อย+มีมูกปนเลือด ปวดท้องเป็นพัก ๆ
มี 2 ชนิด
- 1 โรคบิดชนิดไม่มีตัว (Bacillary Dysentery หรื่อ Shigellosis) เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียในกลุ่มซิเกลลา (Shigella) สามารถพบได้ทั่วไปในพื้นที่ที่มีสุขอนามัยไม่ดี
- 2 โรคบิดชนิดมีตัว (Amoebic Dysentery หรือ Amoebiasis) เป็นโรคบิดที่เกิดจากสัตว์เซลล์เดียว อันมีชื่อว่า อะมีบา ที่มักพบการติดเชื้อได้ในพื้นที่ร้อนชื้นและที่ที่มีการดูแลสุขอนามัยที่ไม่ดีมากนัก
สาเหตุ
- ติดต่อกันได้ผ่านเชื้อโรคที่อยู่ในอุจจาระของผู้ป่วย
- เมื่อเชื้อของโรคบิดปนเปื้อนสู่แหล่งน้ำ ลงไปในอาหาร หรือตกค้างอยู่ที่มือของผู้ป่วย ก็อาจทำให้เชื้อแพร่กระจายได้
- แมลงวัน เป็นสาเหตุที่ทำให้เชื้อแพร่กระจาย
- ผู้ป่วยมีเชื้อของโรคบิด เป็นพาหะและแพร่เชื้อได้โดยเชื้อออกมากับอุจจาระและเชื้อจะค่อย ๆ หมดไปหลังจาก 2-3 สัปดาห์
อาการ Dysentery โรคบิดทัง 2 ชนิดอาการค่อนข้างคล้ายกัน
- หลังรับเชื้อ ใช้เวลาประมาณ 1 สัปดาห์ในการฟักตัว -> เริ่มมีอาการท้องเสียรุนแรง :red_flag: มีอาการอุจจาระเป็นน้ำ มีมูกหรือมูกเลือดปนกับอุจจาระ ร่วมกับอาการปวดเกริ่ง ปวดบีบที่ท้องเป็นพัก ๆ ปวดหน่วงที่ทวารหนัก คลื่นไส้ อาเจียน และมีไข้ขึ้นสูงกว่า 38 C
- หากติดเชื้อแบคที่เรียในโรคบิดชนิดไม่มีตัว อาจหายได้โดยไม่ต้องทำการรักษาใด ๆ แต่ส่วนใหญ่ต้องรักษาด้วยยาฆ่าเชื้อ
- หากโรคบิดชนิดมีตัว ตัวอะมีบาอาจเข้าสู่กระแสเลือด และแพร่ไปยังอวัยวะภายในต่าง ๆ เช่น ตับ หัวใจ สมอง หรืออวัยวะอื่น ๆ ทำให้เนื้อเยื่อในอวัยวะถูกทำลาย หรือก่อให้เกิดฝีที่อวัยวะต่าง ๆ และนำไปสู่อาการติดเชื้อ หรืออาการอื่น ๆ ที่รุนแรงขึ้น หากไม่ได้รับการรักษาที่ทันท่วงที **ทำให้เสียชีวิตได้
การวินิจฉัย
- การซักประวัติ กก การรับประทานอาหาร หรือการดื่มน้ำ และการเดินทางไปตลาดสด, บ่อบำบัดน้ำเสีย, ที่สูบส้วม พื้นที่ที่เสี่ยงต่อการระบาดของเชื้อแบคทีเรียหรือตัวอะมีบา
- เก็บตัวอย่างอุจจาระ แล้วส่งตรวจยังห้องปฏิบัติการ
การรักษา
:check: โรคบิดชนิดไม่มีตัว ปกติจะมีอาการประมาณ 5-7 วัน หายได้ เพราะไม่มีไข้
:check: เน้นรักษาภาวะสูญเสียน้ำและเกลือแร่ในร่างกาย จากท้องเสียเท่านั้น
:red_cross: ห้ามใช้ยารักษาอาการท้องเสียโดยเด็ดขาด เพราะจะทำให้อาการยิ่งแย่ลง
:check: รักษาตามอาการ มีไข้ให้ยาลดไข้
:green_cross: โรคบิดชนิดมีตัว เน้นการใช้ยาเป็นหลัก แม้จะไม่มีอาการของโรคบิด :star: ใช้ยาไดโลชาไนต์ ฟูโรเอต (Diloxanide furoate)** ในการกำจัดปรสิตอย่างอะมีบาออกจากร่างกาย
:check: ส่วนอาการอื่น ๆ ของโรคบิดชนิดนี้จะเป็นการรักษาตามอาการ
21 โรคไอกรน
:star: Def
- โรคติดต่อในระบบทางเดินหายใจ ติดต่อจาก คน -> คน โดยเชื้อสามารถแพร่กระจายได้จากการไอหรือจาม
- สาเหตุมาจากเชื้อแบคทีเรียบอร์เคเทลลา เพอร์ทัสซิส
- หลังติดเชื้อในช่วงแรก -> มีอาการคล้ายเป็นหวัด เช่น ไอ มีไข้ น้ำมูกไหล
- หลังจากนั้น -> ไอต่อเนื่องอย่างรุนแรงและมีเสียงไอที่เป็นเอกลักษณ์ (ไอมีเสียงที่เกิดจากการหายใจลำบาก) เรียกว่า Whooping Cough ที่มาของชื่อไอกรนในภาษาไทย
สาเหตุ
- ติดต่อง่าย จากคนสู่คน ผ่านการไอ จาม โดยเชื้อโรคจะกระจายอยู่ในละอองของเสมหะ น้ำมูกหรือน้ำลายของผู้ป่วย และจะติดต่อไปสู่ผู้อื่น
- แม้จะได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคแล้ว หากร่างกายอ่อนแอก็สามารถติดเชื้อได้ ** ในประเทศไทยมีการให้วัคซีนโรคนี้อย่างทั่วถึง
- มักพบผู้ป่วยส่วนใหญ่เป็น เด็กทารกที่มีอายุน้อยกว่า 1 ปี ทั้งนี้เพราะยังได้วัคซีนไม่ครบตามโปรแกรม ซึ่งจะได้วัคซีนไอกรนครบ 3 เข็มเมื่ออายุ 6 เดือน
อาการ
:star: มีอาการไอที่เด่นชัดและมีเสียงที่มีลักษณะจำเพาะ
- การไอจะเกิดขึ้นเป็นพัก ๆ (ไอติดต่อกันประมาณ 5-10 ครั้ง หยุดไป) แล้วเริ่มไอใหม่ เป็นเช่นนี้ซ้ำ ๆ
- ช่วงเวลาที่ไอติดต่อกัน เมื่อการไอสิ้นสุด จะมีการหายใจเข้าอย่างรวดเร็วหนึ่งครั้ง ทำให้มีเสียงดังที่มีลักษณะจำเพาะ คือ เสียงดังวุ๊ป
- หลังจากไอเสร็จ -> เหนื่อย อ่อนเพลีย จากการไออย่างรุนแรง
การวินิจฉัย
- วินิจฉัยจากอาการของผู้ป่วย ลักษณะของการไอ หรือตรวจร่างกาย อาการคล้ายกับโรคในระบบทางเดินหายใจทั่วไป เช่น หวัด หรือโรคหลอดลมอักเสบ ยากที่จะวินิจฉัยได้
- แนวทางในการวินิจฉัยร่วมด้วย
:check: 1 การเพาะเชื้อ โดยการเก็บตัวอย่างเชื้อหรือสารคัดหลั่งที่บริเวณจมูกหรือลำคอไปตรวจ หาเชื้อแบคที่เรียที่เป็นต้นเหตุของการเกิดโรค
:check: 2 การตรวจเลือด เพื่อตรวจสอบจำนวนของเซลล์เม็ดเลือดขาว ซึ่งมีหน้าที่กำจัดเชื้อโรคหรือสิ่งแปลกปลอมที่เข้ามาในร่างกาย
:check: 3 การเอกซเรย์ทรวงอก เพื่อตรวจความผิดปกติที่อาจเกิดขึ้นที่ปอด เช่น ปอดอักเสบ หรือมีน้ำในปอด เป็นต้น กรณีมีภาวะแทรกซ้อนจากโรคปอดบวม
การรักษา
:star: จุดมุ่งหมายเพื่อประดับประคองตามอาการและลดการแพร่กระจายของเชื้อแบคที่เรีย
:check: การรับประทานยาปฏิชีวนะ
- อิริโทรมัยซิน (Erythromycin)
- อะชิโรรมัยซิน(Azithromycin)
- คลาริโรรมัยซิน (Clarithromycin)
- ไตรเมโทพริม (Trimethoprim)
- ซัลฟาเมร็อกซาโซล(Sulfamethoxazole)
โดยรับประทานยาต่อเนื่องนานประมาณ 2 สัปดาห์**
ปวด
-
-
5 ปวดศีรษะ
1 Cause of Headache
2 Migraine headache
-
ลษณ อาการปวดปานกลาง - รุนแรง :star:ปวดศีรษะข้างเดียว ปวดตุ๊บ ๆ ข้างเดียวคล้ายจังหวะ HR หรือปวดหนัก ๆ ข้างเดียวบริเวณเบ้าตา ขมับ :check: มี N/V
-
แต่ละรอบอาจปวดย้ายข้าง ปวดจนทำอะไรไม่ได้เลย เกิดจากสิ่งกระตุ้นภายนอก :forbidden: แสง เสียง กลิ่น ปวดนาน 4 hr - 3 Day
-
-
4 Chronic daily headache
-
ปวดศีรษะเรื้อรัง > 15 วัน/เดือน อย่างน้อย 3 เดือน อาจปวดแบบ Tension หรือ Migraine แต่จะมีอาการปวดเรื้อรัง
-
-
-
-
-
9 ท้องผูก
-
-
-
การรักษาท้องผูก
-
2 รักษาด้วยยา
- ยาระบายกลุ่มเส้นใยหรือไฟเบอร์ Fiber Supplements
:explode: Methylcellulose Fiber
- ยาระบายกลุ่มกระตุ้น (Stimulants)จะช่วยกระตุ้นจังหวะการ
บีบตัวของลำไส้ให้ทำงานดีขึ้น
:check: Dulcolax
:check: Bisacodyl
:check: มะขามแขก
- ยาระบายกลุ่ม Osmosis Laxative
:red_flag: Magnesium Hydroxide
:red_flag: Lactulose
- ยาช่วยหล่อลื่นอุจจาระ (Lubricant)
:checkered_flag:มิเนอรอลออยด์ (Mineral Oils)
- ยาที่ช่วยให้อุจจาระอ่อนตัว (Stool Softeners) เช่น
:warning: ยาในกลุ่มด๊อกคิวเซท(Docusate Sodium/Docusate Calcium)
- ยาเหน็บและการสวนอุจจาระ (Suppositories/Enemas)
:star: Sodium Phosphate
:star: กรณีอุจจาระแข็งมาก สวนด้วยน้ำสบู่ หรือชุดสวนสำเร็จรูปที่ผสม Bisacodyl หรือ Glycerin
19 Common cold
Def. การติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบนบริเวณโพรงจมูกและอาจลามมาถึงช่องปาก
- อาการไม่รุนแรง โดยเฉลี่ยในทุกคนมีโอกาสเป็นโรคหวัด 6-8 ครั้งต่อปี ผู้ป่วยเด็กบางรายอาจเป็นหวัดได้มากกว่า 12 ครั้งต่อปี เด็กมีโอกาสเป็นหวัดน้อยลงเมื่อโตขึ้น
สาเหตุ
- เกิดจากเชื้อไวรัส พบบ่อยที่สุดในทุกอายุ คือ rhinovirus ซึ่งมีมากกว่า 100 ชนิด - รองลงมา ได้แก่ coronavirus, parainfluenza vius เป็นต้น
- โรคหวัด มักพบในฤดูกาลที่มีอากาศเย็น และความชื้นสัมพัทธ์ เช่น ฤดูหนาวเนื่องจากอุณหภูมิพอเหมาะต่อการเติบโตของไวรัส
อาการ
- ขึ้นกับอายุและชนิดของเชื่อไวรัส
- เด็กเล็ก อาการเด่น อาจมีไข้และน้ำมูก
- เด็กโตและผู้ใหญ่ มักไม่มีไข้ เริ่มด้วยอาการเจ็บคอหรือระคายคอ ต่อมามีน้ำมูก ดัดจมูก ไอ -> พบได้สองในสามของ pt
- โรคหวัดอาจเป็นอาการเริ่มต้นของโรคติดเชื้อทางเดินหายใจทั้งหมดที่เกิดจากเชื้อไวรัส
- ติดเชื้อไวรัสบางชนิด เช่น influenza virus, respiratory syncytial virus, human metapneumo virus จะมีอาการอื่นมากกว่าเชื้อ rhinovirus หรือ coronavirus เช่น มีอาการปวดหัว เสียงแหบ ปวดเมื่อยตัว อาเจียน ท้องเสีย เป็นต้น
:star: อาการแสดง ได้แก่ เยื่อบุจมูกบวมแดง อาจพบ เยื่อบุตาแดง ต่อมน้ำเหลืองที่คอโต มี post nasal drip ได้
การรักษา :star: หายได้เอง โดยไม่จำเป็นต้องให้ยารักษา ATB
:check: 1 การรักษาที่ช่วยบรรเทาอาการ
- การเช็ดตัว
- การใช้ยาลดไข้ เช่น paracetamol
:forbidden: ไม่แนะนำให้ใช้แอสไพริน
:check: 2 การช่วยให้จมูกโล่ง
- ในเด็กเล็กหรือเด็กที่สั่งน้ำมูกไม่เป็นแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ดูดน้ำมูก เช่น ลูกสูบยางแดง ใช้ผ้าสะอาดหรือไม้พันสำลีเช็ดน้ำมูก หากน้ำมูกขันเหนียว อาจใช้น้ำเกลือหยอดจมูกแล้วดูดออก
:<3: การรักษาที่ไม่บรรเทาอาการ ** ไม่แนะนำใน pt เด็ก CPM กระตุ้นประสาท dose 4 mg oral 1 tab bid pc
- ยาให้ยาลดน้ำมูก (antihistamine) และ/หรือยาแก้คัดจมูก ไม่พบประโยชน์ในการบรรเทาอาการ แต่อาจพบผลข้างเคียงของยา เช่น ทำให้น้ำมูกเหนียวข้น ง่วงซึม หรือกระวน กระวาย นอนไม่หลับ เป็นต้น
ไข้
2 ไข้และมีผื่นหรือจุด
-
ระยะฟักตัว 1 -3 สัปดาห์ จะแสดงอาการให้เห็น, เกิดจากเชื้อไวรัสพันธ์เดียวกัน ไม่เป็นอีก มีภูมิต้านทานโรคแล้ว
-
-
1 ไข้ตัวร้อน
อาการของไข้
ระยะไข้
Skin อุ่น หน้าแดง ร้อน Metabolic สูง -> HR เร็ว RR เร็ว Dehydration Urine ออกน้อย จากกระบวนการระบายความร้อน , Bowel sound ลดลง การดูดซึมอาหารไม่ดี เสียน้ำมากขึ้น ->ท้องผูก /
นาน Tissue ถูกทำลาย --> อ่อนเพลีย Fatigue กล้ามเนื้อไม่มีแรง เบื่ออาหาร N/V ซึม กระสับกระส่าย ปวดศีรษะ
ระยะไข้ลด
กำจัดสาเหตุไข้ -> BT ลดลง การสร้างความร้อนในร่างกายลดลง -> เลือดไปเลี้ยงผิวหนังมากขึ้น เกิดการหลั่งเหงื่อมากขึ้น!!
-
-
กลไกการเกิดไข้
-
ติดเชื้อ -> Hypothamus Set อุณหภูมิร่างกายให้สูงขึ้น --> Pt หนาว Chill หลอดเลือดและกล้ามเนื้อ หดตัว เกิดอาการหนาวสั่น >> ไข้ขึ้น!!
Fever Pattern
1 ไข้คงที่/ไข้สูงลอย Constant, Continuous Fever *กินยา ช็ดตัวไม่ลด -> ไข้เลือดออก
-
-
-
-
-
23 โรคทางนารีเวช
โรคที่พบบ่อย
1 ช่องคลอดอักเสบ (Vaginitis)
- เกิดภายในช่องคลอด (vagina) และปากช่องคลอด(vulva)
- อาการที่พบบ่อย
:check: อาการตกขาวผิดปกติ
:check: คันกลิ่นตกขาวปนเลือด
:check: แสบร้อนในช่องคลอด
- การวินิจฉัยโรค -> การตรวจภายใน ร่วมกับการนำตกขาวไปตรวจ เพื่อหาสาเหตุว่ามาจากเชื้อรา หรือเชื้อแบคที่เรีย เพื่อการรักษาที่ถูกต้อง เนื่องจากการรักษาแต่ละสาเหตุมีความแตกต่างกัน
2 ประจำเดือนผิดปกติ
- ส่วนใหญ่อาการ
:check: อาการประจำเดือนออกกระปริดกระปรอย
:check: ประจำเดือนมามากหรือน้อยเกินไป
:check: ประจำเดือนขาดหายโดยมิได้เกี่ยวข้องกับการตั้งครรภ์
:warning: อาการเหล่านี้อาจส่งผลถึงการทำงานของรังไข่
- สาเหตุหลัก เกิดจากฮอร์โมนที่ผิดปกติ
- การตรวจวินิจฉัยส ทำได้ 2 วิธี
:red_flag:การตรวจภายใน
:red_flag: การตรวจอัลตร้าซาวด์หน้าท้องหรือช่องคลอด
3 ก้อนในบริเวณท้องน้อย
- ส่วนใหญ่อาการ
:check: ปวดท้อง
:check: ปัสสาวะบ่อย
:check: เลือดออกผิดปกติ
:check: คลำเจอก้อน
:check: น้ำหนักลด
- ซึ่งอาการดังกล่าว ส่วนใหญ่แล้วมักจะเป็นอาการนำของโรคทางนรีเวชในหลายๆโรค อาทิ เนื้องอกกล้ามเนื้อมดลูก เนื้องอกรังไข่และท่อ
นำไข่ เยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่ ฯลฯ
- ตรวจวินิจฉัย ด้วยการตรวจภายในอัลตร้าซาวด์
4 ถุงน้ำรังไข่ (Ovarian Cyst) (กลุ่มที่ไม่ใช่มะเร็ง) แบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด :red_flag: ถุงน้ำที่เกิดขึ้นจากการกระตุ้นของ ฮอร์โมนเพศหญิงเอง (Functional Cyst)
:red_flag: ถุงน้ำที่มีพยาธิสภาพ (Pathological Cyst)
- ส่วนใหญ่อาจไม่มีอาการใดๆ
- มีอาการปวดหน่วงท้องน้อยเล็กน้อยถึงปานกลาง อาจมีภาวะแทรกซ้อน
ให้เกิดอาการปวดหน่วงท้องน้อยรุนแรงเฉียบพลัน หรือ ติดเชื้อ เป็นต้น
**ซึ่งอาจจำเป็นต้องได้รับการผ่าตัดฉุกเฉิน
5 เยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่ (Endometriosis)
- ภาวะที่เซลล์เยื่อบุโพรงมดลูกฝังตัวอยู่ผิดที่ และไปฝังอยู่ในอวัยวะต่างๆได้ เช่น
:red_flag: ฝังที่รังไข่ทำให้เกิดถุงน้ำช็อคโกแลต (Chocolate Cyst) ได้
:red_flag: ฝังที่กล้ามเนื้อมดลูกได้ทำให้เกิดภาวะมดลูกโต (Adenomyosis) ได้
:red_flag: ฝังที่ผนังลำไส้ อาจทำให้ปวดร้างลงไปบริเวณหวารหนัก บางรายทำให้อุจจาระเป็นเลือด
:red_flag: ฝังที่เยื่อบุช่องท้อง กระเพาะปัสสาวะ
- อาการ
:check: ส่วนใหญ่ผู้ป่วยจะมีอาการปวดประจำเดือนเรื้อรัง
:check: ปวดเวลามีเพศสัมพันธ์ุ และทำให้มีบุตรยากได้
Def
ความผิดปกติที่เกิดขึ้นบริเวณช่องคลอด ปากมดลูก มดลูก เยื่อบุโพรงมดลูก ท่อนำไข่หรือรังไข่ เช่น
- มีอาการเลือดออกทางช่องคลอด
- ประจำเดือนมามาก
- ตกขาวมีกลิ่น
- ประจำเดือนมาผิดปกติ
- คลำก้อนได้ที่ท้องน้อย
- ปัสสาวะบ่อย
- ปวดประจำเดือนหรือปวดท้องน้อยเรื้อรัง
- ปวดหน่วงลงทวารหนัก
- ปวดหน่วงท้องน้อยฉับพลัน
- ท้องผูก
- เจ็บเวลามีเพศสัมพันธ์
การรักษา
- โรคทางนรีเวชในแต่ละโรคนั้น ขึ้นกับ อายุ ความรุนแรงของโรค เนื่องจากอาการของผู้ปวย มีตั้งแต่ไม่มีอาการจนถึงมีอาการรุนแรง :star: ดังนั้น การตรวจร่างกาย ตรวจอัลตราชาวด์ จึงเป็นอีกทางเลือกในการตรวจคัดกรอง เพื่อทราบและสามารถวางแผนการรักษาได้ก่อนเกิดภาวะแทรกซ้อน
การรักษามีตั้งแต่
:check: การใช้ยาเพื่อบรรเทาอาการปวด
:check: การผ่าตัด -> การผ่าตัดเปิดทั่วไปและการผ่าตัดผ่านกล้อง
11 Nausea Vomiting
สาเหตุ
ความปกติของระบบ GI
- อาหารเป็นพิษ
- อาหารไม่ย่อย
- การอุดตัน
- CA ในทางเดินอาหาร
- ตับอ่อนอักเสบ
การ ปป ของฮอร์โมนในร่างกาย
ความผิดปกติของระบบประสาท
- ปวดหัวไมเกรน IICP ความผิดปกติของระบบทรงตัวในหูชั้นใน --> คลื่นไส้ เมารถ เมาเรือ
-
-
-
-
-
-
-
การรักษา
-
ให้คำแนะนำ
- แนะนำ pt นอนนิ่ง ๆ ลดการเคลื่อนไหว ไม่ลุกเดินไปมา
- แนะนำจิบน้ำเปล่า/ ORS ป้องกัน Dehydration
- แนะน าหลีกเลี่ยงอาหารรสจัด กลิ่นฉุน ควรกินอาหารร้อน ๆ แทน
- แนะนำกินอาหารมื้อเล็ก ๆ แต่บ่อยครั้ง อาจมีของว่างระหว่างมื้อ
- แนะนำนอนพักผ่อนให้เพียงพอ สาเหตุจากนอนน้อย
- แนะนำดื่มน้ำขิง สรรพคุณช่วยขับลม ลด N/V
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-