Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาที่ออกกฤธิ์ต่อระบบทางเดินอาหาร - Coggle Diagram
ยาที่ออกกฤธิ์ต่อระบบทางเดินอาหาร
ยารักษาแผลในทางเดินอาหาร(Ulcer healing drugs)
สาเหตุ
ที่ทำให้เกิดแผลในทางเดินอาหาร เกิดจากการติดเชื้อ
Helicobacter pylori (H. pylori)
การรับประทานยา Nonsteroidal anti-inflammatory drugs (NSDINs) การเป็นเนื้องอกที่ตับอ่อน ทำให้ ทำให้มีการหลั่งกรดในกระเพาะอาหารมากเกินไป เป็นผลทำให้เกิดแผลในหลอดอาหาร กระเพาะอาหารและลำไส้เล็ก
1.ยาที่ออกฤทธิ์ลดกรด(Antacids)
ยาลดกรด
เป็นสารประเกลืออนินทรียื มีคุณสมบัติเป็นด่างอ่อนเมื่อทำปฏิกิริยากับกรดจะได้เกลือกับน้ำ จึงสามารถลดกรดในกระเพาอาหารได้ แผลที่มีอยุ่ก็ละคายเคลืองลดลง
ประโยชน์ในการรักษาทางคลินิก
ใช้รักษาอาการปวดแสบท้อง () แผลในทางเดินอาหาร อาการปวดหรือไม่สุขสบายในช่องท้องส่วนบน() อาการแสบยอกหน้าอก() และภาวะกรดไหลย้อน() ให้ยา antacid หลังอาหารทุก 1 และ 3 ชั่วโมง และก่อนนอน และหากให้ติดต่อการนาน 4-6 สัปดาห์ จึงจะทำให้ผลการรักษาดีต่อการรักษา
ผลทางเภสัชวิทยาของยาลดกรด
4.ถ้า pH เพิ่มในกระเพาะอาหารจะไปกระตุ้นการหลั่งกรด pepsin เพื่อเป็นการชดเชย
5.ถ้า pH เพิ่มในทางเดินอาหารจะไปกระตุ้นหรือลดการเคลื่อนไหวของลำไส้ ขึ้นอยู่กับชนิดของยา
3.เริ่มยับยั้ง pepsin เมื่อ pH ในกระเพาะอาหารมากกว่า 2
2.ขนาดที่ให้ดูว่าสภาวะของกระเพาะอาหารว่ามีอาหารอยู่หรือไม่
1.ทำให้ pH ของกรดสูงขึ้นมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับความสามารถในการลดกรดของยา
ยาลดกรดแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มคือ
1.ยาลดกรดที่ออกฤทธิ์โดยทั่วไป (Systemic Gastric Antacid) คือยาที่เมื่อรับประทานแล้วมีส่วนหนึ่งถูกดูดซึมสู่กระแสเลือดทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของสมดุลกรด-ด่าง ในร่างกาย ยากลุ่มนี้จะมี Sodium bicarbonate (NaHCO3) มียาที่ช่วยรักษาภาวะเปฌนกรดในกระเพาะอาหาร
ยา magesto
ยา meylon
ยา diasgest
ยา roter
2.ยาลดกรดที่ออกฤทธิ์เฉพาะแห่ง (non-systemic gastric antacid) คือยาลดกรดที่ต้องการให้ออกฤทธิ์เฉพาะในทางเดินอาหารเท่านั้น จึงไม่มีการดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือด ทำให้ไม่มีผลต่อสมดุลกรด-ด่างในร่างกาย ยาชนิดน้ำสงผลดีต่อในการรักษาแผลในกระเพาะอาหารได้ดีกว่ายาเม็ด
2.2 Magnesium hydroxide (Milk of magnesia, Mg(OH)2)
2.3 Calcium carbonate (CaCO3)
2.1 Aluminium hydroxide (Al(OH)3)
เป็นยาลดกรดที่มีฤทธิ์อ่อนมากที่สุด ยาไม่ถูกดูดซึมในระบบทางเดินอาหาร
ผลข้างเคียงของ
Al(OH)3
2.หากใช้นานๆจะเกิดฟอสเฟตในเลือดต่ำ เนื่องจากอลูมีเนียมไปจับกับฟอสเฟตในลำไส้และขับออกทางอุจจาระ ทำให้เกิดอาการอ่อนเพลีย
1.มีผลต่อการเคลื่อนไหวของทางเดินอาหาร ทำให้เกิดอาการท้องผูก มักใช้ร่วมกับ magnesium hydroxide เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการลดกรดและบรรเทาอาการท้องผูก
2.ยาที่มีฤทธิ์ยับยั้งการหลั่งกรด(Anti Secretory Drugs)
4.ยาที่ออกฤทธิ์ขจัดเชื้อแบททีเรีย (Helicobacter pylori )
(H.pylori)
3.ยาที่ออกฤทธิ์ปกป้องเยื่อบุผนังทางเดินอาหาร (Mucosal protective agents,Cytoprotrctive)
ยาระงับการคลื่นไส้อาเจียน (Antiemetic agents)
ยารักษาอาการท้องเสีย (Antidiarrheal Agents)
ยาระบาย (Laxative agents)