Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ ๕ การดูแลเด็กที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล, ศรีสุดา เอกลัคนารัตน์.…
บทที่ ๕ การดูแลเด็กที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
ปัจจัยการปรับตัวของเด็กเมื่อป่วย
ปัจจัยเกี่ยวกับโรค
ลักษณะของโรค
ระดับความผิดปกติและความพิการ
การพยากรณ์และการดำเนินโรค
ปัจจัยเกี่ยวกับสภาพแวดล้อม
ความสัมพันธ์ในครอบครัว
ทัศนคติและการเลี้ยงดู
การช่วยเหลือจากญาติ
ปัจจัยเกี่ยวกับเด็ก
เด็กในแต่ละวัยมีการรับรู้แตกต่างกัน
ระดับสติปัญญา
ประสบการณ์ของการเจ็บป่วยในอดีต
Death & Dying
แนวคิด
วัยหัดเดินโศกเศร้าเห็นบุคคลใกล้ชิดเศร้า
วัยก่อนเรียนกลัวผู้อื่นตายมากกว่าตนเองตาย
วัยทารกรู้สึกสูญเสียผู้ดูแลเท่านั้น
วัยเรียนกลัวสูญเสียคนที่รัก
วัยรุ่นคิดว่ายังไกลตัว
ปฏิกิริยา
วัยหัดเดิน ประท้วง หมดหวัง ปฏิเสธ
รู้สึกผิดตนทำให้บุคคลใกล้ชิดตาย
วัยทารกร้องไห้หาบุคคลใกล้ชิด
เด็กต้องการคำปลอบโยน
คิดว่าตนเองจะอยู่อย่างไร
Palliative care
ด้านจิตใจ
ลดความเครียด วิตกกังวล
ด้านสังคม
อยู่ในบรรยากาศที่อบอุ่น
ด้านร่างกาย
บรรเทาความทรมาน
ดูแลความสะอาด
ด้านจิตวิญญาณ
ให้ซักถาม ดูแลใกล้ชิด
ปฏิกิริยาทางจิตใจเข้าอยู่โรงพยาบาล
การป้องกันหรือลดผลเสีย
เปิดโอกาศการเยี่ยมผู้ป่วย
การให้ความรู้เรื่องโรคแก่พ่อแม่
บรรยากาศในหอผู้ป่วย
พาเด็กเยี่ยมชมหอผู้ป่วย
Separation anxiety
สิ้นหวัง
ปฏิเสธ
ประท้วง
Family
Centered Care
มีความยืดหยุ่น
ให้กำลังใจ
ผู้ป่วยเป็นส่วนหนึ่งของครอบครัว
ยอมรับความเชื่อค่านิยม
ให้อิสระแก่ผู้ดูแลและครอบครัว
ไม่แยกผู้ป่วยจากครอบครัว
ดูแลอย่างต่อเนื่อง
สมาชิกครอบครัวมีส่วนร่วม
ให้ครอบครัวได้ตัดสินใจอย่างอิสระ
.ครอบครัวมีส่วนร่วม แก้ปัญหาที่ตรงจุด
ความปลอดภัย สิ่งแวดล้อมเหมาะสม
การพยาบาลเด็กในระยะเฉียบพลันและวิกฤต
Critical Care Nursing
ผู้ที่ให้การรักษาพยาบาล
มีความรู้
มีคุณภาพ
สิ่งแวดล้อมในหอผู้ป่วย
อุปกรณ์พร้อมใช้
บุคลากรพร้อม
เด็กป่วยที่มีภาวะวิกฤติ
ดูแลแบบองค์รวม
ป้องกันภาวะแทรกซ้อน
Stress & coping
อธิบายให้ครอบครัวเข้าใจ
ให้ครอบครัวมีส่วนร่วม
ประเมินปัญหาและบันทึกต่อเนื่อง
.จัดกิจกรรมให้เด็กเล่นเหมาะสม
ป้องกันอันตราย
สนับสนุนสมาชิกของครอบครัวในการดูแลผู้ป่วย
การพยาบาลเด็กในระยะเรื้อรังและสุดท้าย
Body image
ปัจจัยที่มีอิทธิพล
สังคมและวัฒนธรรม
ด้านจิตใจ
ส่วนบุคคล
สิ่งแวดล้อมภายใน ภายนอกร่างกาย
ผลกระทบ
ภาพลักษณ์ที่เปลี่ยนไป
วิถีชีวิตในอนาคต
กลไกการปรับตัวของบุคคล Coping
กลุ่มสนับสนุนในการช่วยเหลือ
บทบาทพยาบาล
เผชิญความเครียด สร้างทัศนะคติทางบวก
ให้ความหวังโดยให้ข้อมูล
ส่งเสริมพัฒนาการ การเล่นเป็นตัวเชื่อมโยง
ให้โอกาสครอบครัวได้ร่วมอภิปราย
ส่งเสริมการปรับตัวของครอบครัว
ตอบสนองความต้องการของครอบครัว
สร้างระบบสนับสนุนช่วยเหลือ
การพยาบาลเด็กที่มีความปวด
RAT Model
A Assess ประเมิน
เครื่องมือประเมิน
VAS
ส้นตรง10 CM.
Pain Scale0–10
ที่มีการรู้สึกตัวดี
NUMERIC Scale
10 ช่องๆละ 1 CM.
Pain Scale0 –10
วัยเรียน วัยรุ่น ที่รู้สึกตัวดี
facial scales
ภาพสีหน้าแทนความรูสึก
SCALS 0 –10
วัยเรียน ให้ความหมายของค่าคะแนนไม่ได้
body diagrams
ผู้ป่วยชี้ภาพภาพแสดงตำแหน่ง
เด็กหรือผู้สูงอายุ
NIPS
แรกเกิด - 1 เดือน
0-7 คะแนน
FLACC scale
29 วัน -3 ปี
คะแนนอยู่ระหว่าง0 –10
CHEOPS
3-6 ปี
คะแนน4 –13และ 6 ขึ้นไปรับยาแก้ปวด
BPS
ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว
คะแนนระหว่าง 3-12
ร่วมกับ NS, VS, O2 saturation, Sedative scale
T Treat รักษา
ใช้ยา
ปวดปานกลาง +Codeine
ปวดรุนแรง +MO, Fentanyl
ปวดเล็กน้อย
Paracetamol(+NSAID)
ไม่ใช้ยา
วัยหัดเดิน
โอบกอด กอดตุ๊กตา เล่นของเล่น
วัยก่อนเรียน
ดูวีดีโอการ์ตูน ฟังนิทาน เกมมือถือ
ทารก
ดูดนมแม่ ดูดจุกเปล่า
อุ้ม กอด
ห่อตัวทารกด้วยผ้า
วัยเรียน
ดูวีดีโอตลก เล่นเกมที่เด็กชอบ
วัยรุ่น
ฟังเพลง สวดมนต์ นั่งสมาธิ นวด
R Recognize ตระหนัก
ศรีสุดา เอกลัคนารัตน์. (2563). การดูแลเด็กที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล.
มูลนิธิโรคหัวใจ. (2542). สภาพจิตใจของเด็กเจ็บป่วยแลtextะการอยู่โรงพยาบาล. สืบค้น 4 กรกฎาคม 2563, จาก
https://www.doctordek.com/
นางสาวศุภาวลักษณ์ สะบัวทอง เลขที่ 59 ห้อง B