Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เภสัชจลนศาสตร์ (Pharmacokinetics)และเภสัชพลศาสตร์ (Pharmacodynamics) -…
เภสัชจลนศาสตร์ (Pharmacokinetics)และเภสัชพลศาสตร์ (Pharmacodynamics)
ความหมายของเภสัชจลนศาสตร์
การเป็นไปของยาเมื่อยาเข้าสู่ร่างกาย (what the body does to the drug)
การกระจายตัวของยา (distribution)
การเปลี่ยนแปลงยา (metabolism)
การดูดซึมของยาเข้าสู่ร่างกาย (absorption)
การขับถ่ายยาออกจากร่างกาย (excretion)
ADME รวมกับ ขนาดยา
ความเข้มข้นของยาในบริเวณที่ยาไปออกฤทธิ์
ความแรงของฤทธิ์ยา
ระยะเวลา
เวลาที่ยาเริ่มออกฤทธิ์ (onset)
ระยะเวลาการออกฤทธิ์ของยาในร่างกาย (duration of action)
กระบวนการทางเภสัชจลนศาสตร์ (Pharmacokinetic processe)
Distribution การกระจายตัว
Fat : water partition
Drug binding
Permeability across barrier
Metabolism or Biotransformation การเปลี่ยนแปลงยา
Phase I reaction
reduction
hydrolysis
oxidation
Phase II reaction
conjugation
Absorption การดูดซึม
การให้ยาโดยการสูดดม (Inhalation)
การให้ยาโดยการทาภายนอก (Application to epithelial surfaces)
การให้ยาทางทวารหนัก (Rectal Administration)
การให้ยาโดยการอมใต้ลิ้น (Sublingual administration)
การให้ยาทางปาก (Oral administration)
การฉีดยาเข้าทางเส้นเลือดดำ (Intravenous (IV) injection)
Bioavailability
Excretion การขจัดยา, ขับยาออก
Routes
, bile
milk
feces
breath
urine
sweat
ขนาดยามาตรฐาน (standard dose)
Volume of distribution (Vd)
ปริมาตรของของเหลวที่ต้องการที่จะละลายยาทั้งหมดในร่างกายให้ได้ความเข้มข้นของยาเท่ากับความเข้มข้นของยาใน plasma
Bioavailability
Clearance (CL)
การกำจัดยา หรือ Drug clearance (CL)
ความหมายของเภสัชพลศาสตร์
กลไกที่ทำให้เกิดผลทั้งด้านที่พึงประสงค์คือฤทธิ์ในการรักษา
ผลที่ไม่พึงประสงค์คืออาการข้างเคียงและพิษของยา
การออกฤทธิ์ของยาต่อร่างกาย (what drug does to the body)
กลไกการออกฤทธิ์ (Mechanism of drug action)
ตำแหน่ง
ยาออกฤทธิ์จำเพาะเจาะจง
ยาออกฤทธิ์ไม่จำเพาะเจาะจง
การออกฤทธิ์ผ่านตัวรับ (Receptor-mediatedaction)
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างยากับตัวรับมัก เป็น weak bond
มี Affinity ต่อสารสื่อหรือต่อยาสูง
Specific ต่อสารสื่อหรือ ยาที่มีโครงสร้างเฉพาะ
ความแตกต่างของ non-specifically acting drugs และ specifically acting drugs
Chemical specificity
การเปลี่ยนแปลง กลุ่ม specifically acting drugs ไปเพียงเล็กน้อยจะทำให้ผลทางเภสัชวิทยาเปลี่ยนไปมาก
ความแรง (potency)
non-specifically acting drugs จะมีความแรงน้อยกว่า specifically acting drugs
การต้านฤทธิ์โดย antagonist
specifically acting drugs
ถูกต้านฤทธิ์ได้ด้วยยาที่เป็น antagonist
non-specifically acting drugs ไม่มี selective antagonist
ปฏิกิริยาต่อกันระหว่างยา (Drug interaction)
ต้านฤทธิ์กัน
การขนส่งยาไปยังเป้าหมาย
การเพิ่มฤทธิ์
รบกวนสมดุลของน้ำ
การจำแนกประเภทของ ADR ตามฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของยา
ADR type A เป็นผลจากฤทธิ์เภสัชวิทยาของยาหรือเมตาบอไลท์ของยา
ADR type B เป็นปฏิกิริยาตอบสนองเฉพาะสำหรับบางคน
พิษของยา (Toxic Effect)
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาในระดับที่รุนแรงจนถึงขั้นเป็นพิษเป็นผลของยาที่ใช้ถ้ายังเพิ่มขนาดใช้ยา อาการพิษก็ยิ่งเพิ่มขึ้นจนอวัยวะนั้น ๆ พิการหรือเสื่อมสภาพไป