Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักการดำเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อทางศาสนาพุทธ - Coggle Diagram
หลักการดำเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อทางศาสนาพุทธ
หลักคำสอนในพุทธศาสนา
ศาสนา (Religion)
ข้อผู้พันระหว่างชีวิตมนุษย์กับความจริงสูงสุดที่มนุษย์เชื่อ
เรื่องสำคัญในศาสนา 3 ประการ
1.ความจริงสูงสุดอันเป็นพื้นฐานหรือที่มาของหลักคำสอน
แก่นหรือสาระสำคัญของคำสอน
หลักศีลธรรมที่เป็นแม่แบบของจริยธรรมที่มนุษย์พึงปฏิบัติ
หลักปฏิบัติจริยธรรม
ความกตัญญูกตเวที คือ การรู้จักบุญคุณและตอบแทน
เพื่อการดำรงอยู่อย่างปกติสุข ทุกคนจึงมีหน้าที่ต่อกัน
คือการปฏิบัติหน้าที่ต่อกัน
หลักปฏิบัติศีลธรรม
เป็นหลักคำสอนสำคัญของศาสนา
ได้แก่
โอวาทปาติโมกข์
การไม่ทำความชั่วทั้งปวง การบำเพ็ญแต่ความดี
การทำจิตให้สะอาดบริสุทธิ์
ศีล 5
เป็นหลักปฏิบัติพื้นฐานของชาวพุทธ
ศีลข้อ 1 ปาณาติปาตา เวรมณี
งดเว้นจากการทำชีวิตสัตว์ให้ตกล่วงไป
ศีลข้อ 2 อทินนาทานา เวรมณี
งดเว้นจากการถือเอาของที่เจ้าของมิได้ให้
ศีลข้อ 3 กาเมสุ มิจฉาจารา เวรมณี
งดเว้นจากการประพฤติผิดในกาม
ศีลข้อ 4 มุสาวาทา เวรมณี
งดเว้นจากการกล่าวเท็จ
ศีลข้อ 5 สุราเมรยมัชชปมาทัฏฐานา เวรมณี
งดเว้นจากการดื่มสุราและเมรัย อันเป็นที่ตั้งแห่งควาประมาท
ศาสนาพุทธ
ความจริงสูงสุด
กฏไตรลักษณ์ (The Three Characteristics of Existence)
อริยสัจ (The Four Noble Truths)
ปฏิจจสมุปบาท (The Law of Cause and Effect)
นิพพาน (Nirvana)
กฏไตรลักษณ์
กฏของธรรมชาติ
ประกอบด้วยสภาวะ 3 ประการ
อนิจจัง
ความไม่เที่ยง ไม่คงตัว เสื่อมสลาย
ทุกขัง
ความทุกข์ ถูกบีบคั้น ไม่สมอยาก ตั้งอยู่ไม่ได้
อนัตตา
ความไม่มีตัวตนที่แท้จริง
อริยสัจ
คำสอนของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ความจริงอันประเสริฐ 4 ประการ เป็นความจริง 4 ประการที่ทำให้ผู้เข้าถึงกลายเป็นอริยบุคคล
อริยสัจ 4 เป็นเหตุและผลของการเกิดแห่งทุกข์
และวิธีการดับทุกข์ คือการไปสู่นิพพาน
ปฏิจจสมุปบาท
กระบวนธรรมของจิต ในการเกิดขึ้นและดับไปแห่งทุกข์ ใช้ในการปฏิบัติ
นิพพาน
เป็นความดับสนิทของตัณหา ปล่อยวาง สลัดทิ้งโดยสิ้นเชิงซึ่งตัณหา
ธรรมเป็นที่ระงับสังขารทั้งปวง สิ้นตัณหา
อสังขตธรรม เป็นการสิ้นไปแห่ง ราคะ โทสะ โมหะ
ความคลายกำหนัด กำจัดความเมา ความกระหาย ก่อนเสียชื่อ ความอาลัย
อายตนะ (สิ่ง) เป็นอสังขตะ คือ ที่สิ้นสุดแห่งทุกข์
นิพพานอธิบายด้วย ภาษา/คำพูดให้เช้าใจได้ยาก
ผู้ฉลาดย่อมรู้เอง เห็นเอง บอกกันไม่ได้
พระพุทธเจ้าตรัสไว้ว่า “ปัจจฺตํ เวทิตตโพ วิญญูหิ”
พระธรรมอันผู้บรรลุจะพึงรู้เฉพาะตัว
พุทธศาสนากับการปฏิบัติการพยาบาล
เกิด แก่ เจ็บ ตาย เป็นทุกข์ของมนุษย์ เมื่อมนุษย์อยู่ในภาวะเจ็บป่วย มนุษย์ประสบความทุกข์ ผู้ให้การดูแล/พยาบาล/รักษา
เข้าใจผู้ป่วยอยู่ในความทุกข์
ทุกข์
อาการของโรค
ความวิตกกังวล
ภาวะเศรษฐกิจ
การปฏิบัติหน้าที่ในการดูแล เพื่อการบรรเทา/ดับทุกข์ ผู้ป่วยต้อง
เข้าใจ ต้องรู้จักทำใจให้สงบ ร่วมมือกับผู้ให้การดูแล/รักษา
เพื่อทำให้ทุกข์ บรรเทาเบาบาง/หมดไป
การนำผลการปฏิบัติศีล 5 มาเป็นเครื่องมือในการดูแลสุขภาพ
ศีลข้อ 3 กาเมสุ มิจฉาจารา เวรมณี
งดเว้นจากการประพฤติผิดในกาม
ผู้ที่ประพฤติผิดศีธรรมในกาม ไม่ผิดลูกผิดเมียผู้อื่น
ศีลข้อ 4 มุสาวาทา เวรมณี
งดเว้นจากการกล่าวเท็จ
การโกหก พูดไม่จริง เป็นสิ่งที่ทำให้ไม่ได้รับข้อเท็จจริง
ศีลข้อ 2 อทินนาทานา เวรมณี
งดเว้นจากการถือเอาของที่เจ้าของมิได้ให้
การไม่ต้องการอยากได้ของคนอื่นมาเป็นของตน
ศีลข้อ 5 สุราเมรยมัชชปมาทัฏฐานา เวรมณี งดเว้นจากการดื่มสุราและเมรัย
การดื่มสุรา เครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของแอลกอออล์
ศีลข้อ 1 ปาณาติปาตา เวรมณี
งดเว้นจากการทำชีวิตสัตว์ให้ตกล่วงไป
กินผักกินไม้หยุดทำลายชีวิตสัตว์
พุทธศาสนากับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม
พระพุทธเจ้ากับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม
การดูแลรักษาด้านร่างกาย
เมื่อพุทธองค์ประชวร เสวยยาคู
ปรุงด้วยของสามอย่าง คือ งา ข้าวสาร และถั่วเขียว
ต้มน้ำร้อน และละลายน้ำอ้อยด้วยน้ำร้อน
เมื่อพระพุทธองค์หมักหมมด้วยสิ่งอันเป็นโทษ จำทำการอบก้านอุบลด้วยยาต่าง ๆ สามก้านแล้วนำไปถวายพระผู้มีพระภาคเจ้า ให้พระองค์สูดก้านอุบลก้านที่หนึ่งแล้วยาจะออกฤทธิ์ทำให้พระองค์ถ่ายถึง 10 ครั้ง
การดูแลรักษาด้านจิตใจ
เมื่อพระพุทธเจ้าทรงประชวร ท่านพระมหาจุนทะก็ได้สาธยายโพชฌงค์ 7
ตามที่ท่านได้ฟังมาจากพระพุทธเจ้าอย่างแจ่มแจ้งถวายแด่พระองค์ซึ่งประชวรอยู่
การดูแลรักษาด้านจิตวิญญาณ
ในพรรษาสุดท้ายของพระผู้มีพระภาคเจ้าจำพรรษา พระพุทธองค์ทรง
ประชวรหนัก ใกล้จะปรินิพพาน พระองค์ทรงมีพระสติสัมปชัญญะไม่พรั่นพรึงอดกลั้น
พระพุทธเจ้าแสดงโพชฌงค์รักษาอาพาธแก่พระมหาโมกคัลลานะ
การดูแลรักษาด้านสังคม
พระสารีบุตรและพระโมกคัลลานะ ก็จะใช้สมุนไพรที่หาได้ในท้องถิ่นมาเพื่อการดูแลสุขภาพ ใช้รากบัวและกระเทียมแก้อาพาธ
สวดมนต์ “โพชฌงคปริตร” เป็นพุทธมนต์สำหรับสวดสาธยายเพื่อให้ผู้ป่วยได้สดับรับฟังแล้วจะได้หายจากโรคภัยไข้เจ็บ
จิตสุดท้ายของมนุษย์ เมื่อได้รับการจูงจิตที่ดีจะส่งผลให้ไปสู่ในภพภูมิที่สูงขึ้นได้ตามความเชื่อของศาสนาพุทธ
พระพุทธเจ้าเป็นผู้มีสุขภาพดี มีพระชนมายุแปดสิบพรรษา สามารถออกเผยแพร่ศาสนาวันหนึ่งประมาณ 16-20 ชั่วโมง ความมีอาพาธน้อย มีพระโรคเบาบาง ทรงพระกำลังกระปรี้กระเปร่า ประทับอยู่สำราญเสมอ ๆ
การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองแนวทางพุทธศาสนา
การวางจิตวาระสุดท้าย
กรรมนิมิต
เครื่องหมายของกรรมที่ตนได้กระทำไว้แล้ว
คตินิมิต
เครื่องหมายของภพภูมิที่จะเกิด มาปรากฏให้เห็น ในเวลาเมื่อใกล้จะตาย
กรรมอารมณ์
อารมณ์ของกรรมที่บุคคลได้กระทำไว้แล้ว
ความตายตามแนวทางพุทธศาสนา
ความตายเป็นทั้งความแน่นอน และความไม่แน่นอนไปพร้อม ๆ กันที่แน่นอนคือ ทุกคนต้องตาย แต่ที่ไม่แน่นอน
ความตายเป็นทั้งจุดเริ่มต้นและสิ้นสุด ทางพุทธศาสนากล่าวว่า “มีสิ่งหนึ่งที่สืบเนื่องต่อไปจากความตาย อาจเป็นชีวิตใหม่ ภพใหม่”
การตายที่ดีทางพระพุทธศาสนาไม่ใช่ตายอย่างไร สภาพแบบไหน แต่อยู่ที่สภาพจิตก่อนตายว่าเป็นอย่างไร ให้ระลึกถึงสิ่งที่ดี
ความตายเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นตลอดเวลาที่ยังมีชีวิตอยู่ เซลล์ในร่างกายตายวันละ ห้าหมื่นล้านเซลส์ ความตายจึงมีอยู่ตลอดเวลาในระดับเซลส์และเนื้อเยื่อ
ความตายเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นตลอดเวลาที่ยังมีชีวิตอยู่ เซลล์ในร่างกายตายวันละ ห้าหมื่นล้านเซลส์ ความตายจึงมีอยู่ตลอดเวลาในระดับเซลส์และเนื้อเยื่อ
ความตายเป็นทั้งวิกฤตและโอกาส
การประคองรักษาจิตให้สงบเป็นปกติท่ามกลางสภาพความเจ็บป่วยทุกข์ทรมานนั้นเป็นไปได้
ความตายมีทั้งมิติทางกายภาพและทางจิตวิญญาณ ในทางพุทธศาสนา ถือว่าการหมดลมหายใจเป็นเพียงการตายทางกายภาพ แต่ยังไม่นับว่ากระบวนการตายสิ้นสุดลง เพราะจิตยังทำงานอยู่
หลัก 7 ประการของการให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยระยะท้าย
การให้ความรัก ความเข้าใจ ผู้ป่วยใกล้ตายมักจะมีความกลัวหลายอย่าง
ช่วยให้เขายอมรับความตายที่จะมาถึงการพูดให้เขายอมรับความตายที่จะมาถึงการพูดจา ให้เขายอมรับความตายเป็นศิลปะ
7.กล่าวคำอำลา
ช่วยให้เขาจดจ่อในสิ่งที่ดีงาม
ช่วยให้เขาปลดเปลื้องสิ่งค้างคาใจ
5.ช่วยปล่อยว่างสิ่งต่าง ๆ แม้บางคนอาจไม่มีสิ่งค้างคาใจที่เป็นกุศล แต่ก็ต้องปล่อยวางทุกสิ่ง
สร้างบรรยากาศที่เอื้อให้ใจสงบ
หลักการและแนวคิดในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
ต้องดูแลผู้ป่วย และครอบครัวทุก ๆ ด้าน
ต้องเริ่มตั่งแต่แรกทั้งผู้ป่วยและครอบครัว
สิทธิของคนใกล้ตายต้องรับรู้ว่าตนเองเป็นอะไร ทำอะไร ได้แค่ไหน ต้องมีการสื่อสารอย่าง เหมาะสมกับคนไข้แต่ละราย ทางเลือกของการรักษา ช่องทางที่คนไข้จะกลับมาหาเราหรือการให้การดูแลที่เหมาะสม
การใส่อุปกรณ์ เอาออกเพื่อให้คนไข้เสียชีวิต
การทำงานเป็นทีม
การดำเนินของโรคทำให้เกิดเหตุการณ์ การเตรียมรับมือจะวางแผนจัดการอย่างไร
การบรรเทาความทุกข์ทรมานในผู้ป่วยระยะสุดท้าย
วัตถุประสงค์การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
ลดความทุกข์ทรมาน
ทำกิจวัตรสำคัญเท่าที่ทำได้
เป็นตัวของตัวเอง
อยู่อย่างมีคุณค่าในช่วงสุดท้ายของชีวิต
วิธีปฏิบัติที่ถูกต้องต่อความตาย
ขั้นการปฏิบัติของมนุษย์ต่อเรื่องความตายนี้แสดงถึงความงอกงามแห่งจิตใจของมนุษย์
3 ขั้น
ขั้นที่ 1 มนุษย์ปุถุชนทั่วไป
ขั้นที่ 2 สูงขึ้นไป เป็นอริยสาวกผู้มีการศึกษาได้สดับแล้วก็ระลึกถึงความตายเป็นอนุสติ
ขั้นที่ 3 คือให้รู้เท่าทันความตาย
การพยาบาลผู้ป่วยในวาระสุดท้ายของชีวิต
การพยาบาลด้านร่างกาย
ไม่จำเป็นต้องให้การรักษาใด ๆ ควรให้ผู้ป่วยในระยะนี้พักผ่อนให้เต็มที่
การพยาบาลด้านจิตใจและจิตวิญญาณ
เมื่อคนป่วยหนักใกล้ตายยิ่งต้องการประคับประคองใจอย่างมาก
พระพุทธศาสนามุ่งเน้นเรื่องการพ้นทุกข์ และสอนให้รู้จักทุกข์และ
วิธีการดับทุกข์ ให้พ้นจากอวิชชา อันเป็นเหตุให้เกิดทุกข์จากกิเลสทั้งปวง