Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีศึกษาที่ 1 - Coggle Diagram
กรณีศึกษาที่ 1
ตรวจร่างกายแรกรับ
ปากมดลูกนุ่ม
กดไม่เจ็บ
คลำทารกได้ ฟัง FHS = 120-126 bpm.
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
ส่วนนำอยู่สูง
มดลูกนุ่ม
ซีด
ทารกท่าผิดปกติ
การ Ultrasound
ข้อมูลส่วนตัว
ประวัติการเจ็บป่วยในปัจจุบัน
-1 วันก่อนมาโรงพยาบาลไปทำงานที่ 7-11 เหมือนทุกวัน แต่วันนี้ลูกค้าเยอะจึงทำให้ต้องเดินทั้งวัน หลังเลิกงานรู้สึกปวดตึงๆ หน่วงตรงท้องน้อย แต่ไม่มีอาการเจ็บครรภ์ ลูกดิ้นดี กลับบ้านตอนเย็นรู้สึกอาการ
ปวดตึงท้องลดลง นอนพักหลับได้
-ตอนเช้ามีเลือดออกทางช่องคลอดเป็นสีแดงสด แต่ไม่มีอาการปวดท้องไม่มีชิ้นเนื้อออกทางช่องคลอด
อาการสำคัญที่นำมาโรงพยาบาล
เลือดออกทางช่องคลอดเป็นสีแดงสด ไม่มีอาการเจ็บครรภ์
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อ Hypovolemic shock เนื่องจากมีเลือดออกทางช่องคลอด
กรณีเลือดออกมาก
จัดให้สตรีตั้งครรภ์นอนพักแบบ Absolute bed rest ให้ผู้ป่วยทำกิจวัตรประจำวันบนเตียง
ประเมินความผิดปกติอย่างใกล้ชิดได้ เช่นภาวะช็อก การหดรัดตัวของมดลูก ประเมินอาการ อาการแสดงของภาวะ
ใส่ผ้าอนามัยเพื่อประเมินเลือดที่ออกทางช่องคลอด
ให้สตรีตั้งครรภ์ NPO และดูแลให้รับสารน้ำตามแผนการรักษาของแพทย์
งดการตรวจ PV และ PR รวมทั้งการงดให้ยาระบาย สวนล้างช่องคลอด หรือสวนอุจจาระ
Monitor EFM
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาตามแผนการรักษาของแพทย์ หากมีการหดรัดตัวของมดลูก MgSO4+Corticosteroid หากสตรีมีการเสียเลือดมากแพทย์อาจพิจารณาให้เลือด ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับเลือด และเฝ้าระวังอาการหลังได้รับเลือด
กรณีกลับบ้าน
แนะนำให้สตรีตั้งครรภ์นอนพัก งดทำกิจกรรม งดทำงานหนัก
แนะนำให้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์โดยเฉพาะอาหารประเภทโปรตีน และธาตุเหล็ก
แนะนำให้สตรีตั้งครรภ์นับลูกดิ้น และบันทึกลงสมุดทุกวัน
งดมีเพศสัมพันธ์หลังออกจากโรงพยาบาล
แนะนำให้สังเกตอาการผิดปกติที่อาจเกิดขึ้นได้แก่ อาการเจ็บครรภ์คลอด มีน้ำคร่ำหรือเลือดออกทางช่องคลอด ทารกไม่ดิ้น หรือดิ้นน้อยลง
ให้ผู้ป่วยมาตามนัดทุกครั้ง และปฏิบัติตามคำแนะนำ
กรณีเลือดออกน้อย
อธิบายให้สตรีตั้งครรภ์และครอบครัวเข้าใจถึงภาวะผิดปกติที่เกิดขึ้น
ประเมินความผิดปกติอย่างใกล้ชิดได้ เช่นภาวะช็อก การหดรัดตัวของมดลูก ประเมินอาการ อาการแสดงของภาวะ Hypovolemic shock
ดูแลตามหลัก IUR
ใส่ผ้าอนามัยเพื่อประเมินเลือดที่ออกทางช่องคลอด
Bed rest
งดการตรวจ PV และ PR รวมทั้งการงดให้ยาระบาย สวนล้างช่องคลอด หรือสวนอุจจาระ
Monitor EFM
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาตามแผนการรักษาของแพทย์
เสียงต่อภาวะ Fetal distress เนื่องจากมีเลือดไปเลี้ยงรกลดลง
ดูแลให้ได้รับยาคลายตัวมดลูกตามแผนการรักษา
MgSO4+Steroid และติดตามอาการข้างเคียงหลังได้รับยา
ติดตาม Electric Fetal Monitor
ประเมินUterine Contraction และประเมิน Fetal Heart Sound = 110-160 ครั้ง/นาที ทุก 1 ชั่วโมง
ให้การพยาบาลสตรีตั้งตั้งครรภ์ตามหลัก Intrauterine resuscitation
การวินิจฉัยภาวะเลือดออกในสตรีตั้งครรภ์
ทฤษฎีรกเกาะต่ำ
อาการและอาการแสดงของภาวะรกเกาะต่ำ
มีเลือดออกทางช่องคลอดโดยไม่มีความเจ็บปวด (Painless vaginal bleeding) เป็นอาการที่สำคัญที่สุด เลือดที่ออกจะมีสีแดงสด
ตรวจทางหน้าท้องพบมดลูกนุ่มตามปกติ ไม่แข็งตึง กดไม่เจ็บ คลำส่วนของทารกในครรภ์และฟังเสียงหัวใจของทารกในครรภ์ได้
ภาวะที่รกหรือส่วนของรกมีการฝังตัวงมาถึงบริเวณส่วนล่างของผนังมดลูก ซึ่งรกอาจจะฝังตัวใกล้หรือปกคลุมบริเวณ internal os เพียงบางส่วนหรือทั้งหมด
Marginal previa ภาวะที่บางส่วนของรกฝังตัวที่ขอบปากมดลูกด้านใน โดยไม่คลุมปากมดลูก
Partial previa ภาวะที่รกฝังตัวคลุมปากมดลูกด้สนในบางส่วน
Low lying placenta ภาวะที่รกฝังตัวที่มดลูกส่วนล่าง
Complete previa ภาวะที่รกฝังตัวคลุมปากมดลูกด้านในทั้งหมด
ตัวสตรีตั้งครรภ์
มีเลือดออกทางช่องคลอดเป็นสีแดงสด
ไม่มีอาการเจ็บครรภ์
ตรวจปากมดลูกนุ่ม
คลำส่วนนำของทารกได้ปกติ
ฟัง FHS = 120-126 bpm.