Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 ความรู้พื้นฐานทางเภสัชวิทยา - Coggle Diagram
บทที่ 2 ความรู้พื้นฐานทางเภสัชวิทยา
ความหมายและความสำคัญของยา
ความหมาย
สิ่งที่ใช้แก้หรือป้องกันโรค หรือบํารุงร่างกาย
ยาควบคุมพิเศษ
ยาแผนปัจจุบันที่ก่อให้เกิดอันตรายได้ง่าย
ยาที่ใช้ภายนอก
ยาที่ใช้เพื่อการรักษาเฉพาะที่ เช่น ยาทา ยาหยอด
ยาแผนปัจจุบัน
ยาที่ใช้ในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม
ยาสมุนไพร
ยาที่ได้จากพืช หรือสัตว์ หรือแร่ธาตุที่ไม่ได้นำไปปรุงแต่งใดๆ
ยาแผนโบราณ
ยาที่ใช้สำหรับการประกอบโรคศิลปะ แผนโบราณหรือการบำบัดโรคสัตว์
ยาบรรจุเสร็จ
ยาแผนปัจจุบันหรือยาแผนโบราณที่ถูกบรรจุหีบห่อ
ยาอันตราย
คือ ยาแผนปัจจุบันที่อันตรายสูงกว่ายาสามัญประจำบ้าน การใช้ยาประเภทนี้ต้องผ่านการดูแลจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
ยาสามัญประจำบ้าน
ยาที่ให้ประชาชนสามารถเลือกใช้ได้เอง หาซื้อได้โดยทั่วไป
ความสำคัญของยา
เป็นปัจจัยสำคัญอย่างหนึ่งในการรักษาความเจ็บป่วย การบำบัด บรรเทาอาการ และกำจัดสาเหตุของโรค
วิถีทางและวัตถุประสงค์ของการใช้ยา
Dosage forms
Solid dosage form
Liquid dosage form
Semisolid dosage form
Ointments
วิถีทางในการให้ยา
1. การให้ยาผ่านทางเดินอาหาร
Oral ingestion
Sublingual administration
Rectal administration
2.การให้ยาโดยไม่ผ่านทางเดินอาหาร
Topical application
ยาหยอด
ยาหยอดตา หยอดหู
ยาเหน็บช่องคลอด
การให้ยาผ่านผิวหนัง
Inhation
การให้ยาชนิดสูดดม
Injection
Intramuscular injection
จะให้ขนาดยาที่แน่นอนและมีอัตราการดูดซึมสูง อาจทำให้ปวดมาก
Intravenous admonistration
ตัวยาทั้งหมดเข้าสู่หลอดเลือดดำ โดยไม่ผ่านกระบวนการดูดซึม ยาเข้าสู่ร่างกายโดยตรง
Subcutaneous administration
ใช้ได้กับยาที่ไม่ระคายเคืองและมีปริมณที่ต้องฉีดไม่มาก ยาจะถูกดูดซึมเข้าสู่ระบบไหลเวียนเลือด
วัตถุประสงค์ในการทำยาในรูปแบบต่างๆ
กลบรสตัวยาที่ไม่น่ารับประทาน
เหมาะสำหรับคนที่กลืนยาเม็ดไม่ได้
ป้องกันการสลายตัวของยา
เพื่อให้ยาออกฤทธิ์ติดต่อกันนาน
เพื่อให้ผู้ป่วยรับประทานยาในขนาดที่ถูกต้อง
แหล่งที่มาของยา
1. ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ
อวัยวะต่าง ๆ ของสัตว์
แร่ธาตุ
ส่วนต่างๆของพืช
2. ยาสังเคราะห์
ยาที่ใช้รักษาโรคมาตั้งแต่สมัยโบราณ ส่วนใหญ่ได้มาจากการสังเคราะห์ทางเคมี
การบริหารยาและหลักการให้ยาในผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง
หลักการให้ยาในผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง
Right patient, Right drug, Right dose, Right time, Right route
ควรคำนึงถึงวิธีการบริหารยา
ผู้สูงอายุ สตรีตั้งครรภ์ สตรีให้นมบุตร ผู้ป่วยเด็ก ผู้ป่วยโรคตับ เป็นต้น
คำนึงถึงคุณสมบัติทางฟิสิกส์และเคมีของยา
Administration
ยาหลังอาหารทันที
ควรทานยาหลังอาหารทันที
ยาพร้อมอาหาร
ให้รับประทานอาหารครึ่งหนึ่งแล้วรับประทานยา แล้วจึงรับประทานอาหารต่อจนอิ่ม
ยาหลังอาหาร
ควรทานยาหลังอาหารทันที หรือไม่ควรเกิน 15 นาที
ยาก่อนนอน
ควรทานก่อนนอน 15-30 นาที
ยาก่อนอาหาร
ทานก่อนอย่างน้อย 30 นาที และต้องทานขณะที่ท้องยังว่าง
ยารับประทานเวลามีอาการ
เราควรรับประทานเวามีอาการเท่านั้น
การเรียกชื่อยา
การเรียกชื่อยา
Chemical name
การอ่านชื่อทางวิทยาศาสตร์
Trade name
บริษัทผู้ขายตั้งขึ้น
Generic name
ตั้งขึ้นเพื่อเป็นมาตรฐานในการสื่อสารกัน