Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตสังคม, นางสาวพัชชริกา ปักกะทานัง เลขที่ 27…
ผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตสังคม
. ผู้มีภาวะสูญเสีย (loss)
ความหมาย
เป็นสภาพการณ์ที่บุคคลต้องแยกจาก หรือต้องอยู่โดยไม่มีบางสิ่งบางอย่างที่เคยมีอยู่
ประเภท
2.การสูญเสียบุคคลอันเป็นที่รัก หรือบุคคลสำคัญ
การต้องจากสิ่งแวดล้อมที่คุ้นเคย หรือความรู้สึกปลอดภัย
การสูญเสียภาพลักษณ์ภายนอก และอัตมโนทัศน์
การสูญเสียทรัพย์สิน หรือสัตว์เลี้ยงที่ตนรัก
ความโศกเศร้า (grief)
ความหมาย
เป็นปฏิกิริยาทางอารมณ์ ที่บุคคลมีต่อการสูญเสีย โดยเฉพาะการสูญเสียบุคคลที่รัก หรือสิ่งที่มีคุณค่าต่อตนเอง
ความรู้สึกนี้โดยทั่วไปจะค่อยๆหายไป หรือจะหายได้เร็วถ้าได้ระบายออกอย่างมีเหตุผล
ลักษณะอาการสำคัญ
3) ระยะต่อรอง
บุคคลเริ่มยอมรับการสูญเสียได้มากขึ้น แต่ยังขอต่อรอง
4) ระยะซึมเศร้า
เมื่อต่อรองไม่ได้ บุคคลจะเกิดความรู้สึกเสียใจอย่างรุนแรง จะอยู่เงียบๆ ไม่พูดคุยกับใคร อาจร้องไห้ ซึมเศร้า
2) ระยะโกรธ
หลังจากที่ไม่สามารถปฏิเสธได้อีกต่อไป บุคคลจะโกรธ
5) ระยะยอมรับ
เป็นระยะที่ยอมรับการสูญเสียได้แล้ว และมีการยอมรับความจริงถึงสัจธรรมของชีวิต
1) ระยะปฏิเสธและแยกตัว
ในขั้นแรกจะเกิดภาวะช็อค (shock) ไม่เชื่อในสิ่งที่เกิดขึ้น
อาการและอาการแสดง
2) ความคิด
การรับรู้จะบกพร่อง สมาธิลดลง หมกมุ่น ย้ำคิดย้ำทำ
3) พฤติกรรม
การปฏิบัติกิจวัตรประจำวันลดลง ไม่สนใจสิ่งแวดล้อม การสื่อสาร/ทักษะทางสังคมลดลง
1) ร่างกาย
ระยะแรก จะมีอาการอ่อนเพลีย คลื่นไส้-อาเจียน หายใจเร็ว-ตื้น แน่นหน้าอก ปากแห้ง ท้องผูก/ท้องเสีย แน่นท้อง
ระยะหลัง อาจพบอาการที่เกี่ยวข้องกับระบบไหลเวียนเลือด และทางเดินอาหาร
4) อารมณ์
เศร้า เสียใจ เบื่อหน่าย โกรธ รู้สึกผิด
การบำบัดการสูญเสียและความโศกเศร้า
1) ยอมรับ/รับฟัง สิ่งที่บุคคลระบายออก ถึงความสูญเสีย เจ็บปวด โศกเศร้า
2) เปิดโอกาส ให้ผู้สูญเสีย โศกเศร้า ได้แลกเปลี่ยนความรู้สึกกับบุคคลอื่น
3) รักษา คงไว้ ซึ่งการดำเนินชีวิตประจำวัน และหลีกเลี่ยงสถานการณ์ที่คุกคามความรู้สึกของผู้สูญเสีย โศกเศร้า
4) ให้พักผ่อน นอนหลับ และออกกำลังกาย อย่างสม่ำเสมอ หลีกเลี่ยงการใช้แอลกอฮอล์ หรือสารเสพติดอื่นๆ
5) ให้เวลากับสมอง ในการคิด-จัดการ กับปัญหาต่างๆในระยะเร่งด่วนนั้นๆ
ผู้มีความวิตกกังวล (Anxiety)
ความหมาย
เป็นสถาวะทางอารมณ์ของบุคคลที่มีความรู้สึกว่า หวาดหวั่น หวาดหลัว อึดอัด ไม่สบายใจ เกรงว่าจะมีสิ่งร้าย
แต่หากบุคคลไม่สามารถจัดการกับความไม่สบายใจต่างๆนี้ได้ ความรู้สึกนี้ก็จะสูงขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งบุคคลจะพยายามหาทางออกโดยการใช้กลไกทางจิตมาช่วย
ลักษณะอาการ
1) การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย
จะมีอาการทางระบบประสาทอัตโนมัติ ที่ทำงานมากเกินไป ได้แก่ ใจสั่น หัวใจเต้นเร็วและแรง หายใจไม่อิ่ม อึดอั
3) การเปลี่ยนแปลงทางความคิด
จะมีอาการลืมง่าย ครุ่นคิด หมกมุ่น การคิดและการใช้ภาษาผิดพลาด เปลี่ยนเรื่องพูดบ่อย หรือไม่พูดเลย
2) การเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์
จะมีอาการหงุดหงิดง่าย ไม่สบายใจในสภาพการณ์ที่ไม่แน่ใจ อึดอัด หวั่นเกรงจะมีเหตุร้ายขึ้นกับตน รู้สึกไม่มั่นใจในเหตุการณ์ล่วงหน้า
การบำบัดทางการพยาบาล
แสดงการยอมรับ ความเห็นอกเห็นใจ ให้กำลังใจ
อยู่เป็นเพื่อนพูดคุย รับฟัง ให้ระบายความวิตกกังวล
จัดสภาพแวดล้อมให้สงบ
ตอบสนองความต้องการด้านร่างกาย เช่น อาหาร น้ำ
ทำจิตบำบัดหรือรับคำปรึกษา
ฝึกการผ่อนคลายด้วยเทคนิคต่างๆ
ทำกิจกรรมที่ชอบ และผ่อนคลาย
รู้จักให้กำลังใจตนเอง หรือยอมรับสถานการณ์ต่างๆ
ดูแลให้ได้รับยาคลายกังวล หรือยาลดการทำงานของระบบประสาทอัตโนมัติ ตามแผนการรักษา
ความเครียด (Stress)
ความเครียดแบ่งเป็น 4 ระดับ
ระดับต่ำ (Mild Stress) เป็นความเครียดที่ไม่คุกคามต่อการดําเนินชีวิต
ระดับปานกลาง (Moderate Stress) เป็นความเครียดในระดับปกติ ที่ไม่ก่ออันตราย และไม่แสดงออกถึงความเครียดที่ชัดเจน
ระดับสูง (High Stress) เป็นความเครียดที่เกิดจากเหตุการณ์รุนแรง ทําให้เกิดความผิดปกติทางร่างกาย อารมณ์
ระดับรุนแรง (Severe Stress) เป็นความเครียดระดับสูง และเรื้อรังต่อเนื่อง จนทําให้บุคคลเกิดความล้มเหลวในการปรับตัว
การบำบัดทางการพยาบาล
หมั่นสังเกตความผิดปกติของร่างกาย จิตใจ และพฤติกรรม
หาวิธีผ่อนคลายความเครียดที่ตนเองถนัด เช่น ฟังเพลงเบาๆ นั่งสมาธิ
จัดสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสม น่าอยู่ สบายตาสบายใจ ทั้งที่บ้านและที่ทำงาน
ปรับเปลี่ยนความคิด มุมมอง และทัศนคติในแง่บวก
พูดคุยกับครอบครัว หรือเพื่อนสนิท เพื่อระบายความทุกข์ใจ
หากพบว่ามีความเครียดมาก สามารถขอรับบริการให้คำปรึกษาสายด่วนสุขภาพจิต 1323
ผู้มีภาวะซึมเศร้า (Depression)
อาการ และอาการแสดง
ภาวะซึมเศร้าชั่วคราว
1) ด้านอารมณ์ หดหู่ เหงา ผิดหวัง เสียใจ
2) ด้านพฤติกรรม ร้องไห้
3) ด้านความคิด อาจคิดถึงเรื่องที่ผิดหวังมาก หยุดคิดไม่ได้
4) ด้านร่างกาย อ่อนเพลียเล็กน้อย เหนื่อยล้า ไม่อยากทำอะไร
ภาวะซึมเศร้าเล็กน้อย
1) ด้านอารมณ์ วิตกกังวล โกรธ รู้สึกผิด ไม่มีคุณค่า เหงา หมดหวัง
2) ด้านพฤติกรรม ร้องไห้ง่าย ตำหนิตนเอง แยกตัว ไม่อยากทำอะไร อาจมีกระสับกระส่าย
3) ด้านความคิด ย้ำคิดย้ำทำ ตำหนิตนเอง/ผู้อื่น ขาดความมั่นใจ ลังเล ไม่สามารถตัดสินใจได้
4) ด้านร่างกาย เบื่ออาหารหรืออาจรับประทานมากขึ้น นอนไม่หลับหรือนอนมาก ปวดศีรษะ
ภาวะซึมเศร้าปานกลาง
1) ด้านอารมณ์ เหงา หมดหวัง มองดูสิ่งต่างๆรอบตัวไม่สดใส ความภาคภูมิใจในตนเองต่ำ
2) ด้านพฤติกรรม มีภาวะ psychomotor retardation การเคลื่อนไหวช้า พูดน้อย ไม่สนใจสิ่งแวดล้อม
3) ด้านความคิด ความสนใจในสิ่งต่างๆลดลง ไม่มีสมาธิ คิดช้า ย้ำคิดย้ำทำ คิดแต่ด้านลบ
4) ด้านร่างกาย เบื่ออาหาร น้ำหนักลด หรือรับประทานมากขึ้น นอนไม่หลับโดยเฉพาะช่วง
ภาวะซึมเศร้า รุนแรง
1) ด้านอารมณ์ หมดหวังโดยสิ้นเชิง เฉยเมย สีหน้าดูว่างเปล่า เหงา และเศร้า ไม่มีความสุขในการทำกิจกรรม
2) ด้านพฤติกรรม เชื่องช้า ไม่พูด ไม่อยากทำอะไร และไม่เคลื่อนไหว
3) ด้านความคิด สับสน ไม่มีสมาธิ อาจคิดฆ่าตัวตาย
4) ด้านร่างกาย การทำงานของระบบต่างๆลดลง หมดสมรรถภาพทางเพศ ประจำเดือนไม่ปกติ เบื่ออาหาร น้ำหนักลด
การบำบัดทางการพยาบาล
ดูแลให้ทำกิจวัตรประจำวัน และดูแลสุขอนามัย จัดเตรียมอุปกรณ์ต่างๆให้มีความเหมาะสม ปลอดภัย
กระตุ้นให้ทำกิจกรรม เช่น ออกกำลังกาย บริหารร่างกาย นวด
กระตุ้นให้ได้ระบายความคิดความรู้สึก
ให้แรงเสริมเมื่อสามารถประเมินหรือมองตนเองในด้านดีได้
ส่งเสริมให้มีปฎิสัมพันธ์กับผู้อื่น และสิ่งแวดล้อม การปฏิบัติหน้าที่ตามบทบาท
หาสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจ ช่วยให้ค้นพบคุณค่าในชีวิตของตนเอง
ผู้มีความโกรธ (Anger)
ปัจจัยเหตุ
เกิดได้จากทั้งปัจจัยภายใน และปัจจัยภายนอก ปัจจัยภายใน เช่น พันธุกรรม เป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้คนมีความอดทนต่อความโกรธได้ไม่เท่ากัน คนที่ทนต่อความคับข้องใจได้น้อยมักเป็นคนโกรธง่าย
การบำบัดทางการพยาบาล
การสร้างการสื่อสารที่ดี
การสร้างสมดุลทางอารมณ์
เทคนิคแก้ปัญหาด้วยตนเอง
การยอมรับความจริง และหาทางเลือกอื่น
1.การสร้างความผ่อนคลาย
การระวังความคิดแบบอัตโนมัติ
การขอคำปรึกษาผู้ที่ไว้วางใจ หรือผู้เชี่ยวชาญ
นางสาวพัชชริกา ปักกะทานัง
เลขที่ 27 รหัส 611001402385