Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Cardiovascular Pathophysiology พยาธิสรีรภาพระบบไหลเวียนโลหิต - Coggle…
Cardiovascular Pathophysiology
พยาธิสรีรภาพระบบไหลเวียนโลหิต
Heart failure (ภาวะหัวใจล้มเหลว)
•systolic dysfunction กล้ามเนื้อหัวใจไม่สามารถบีบตัวเพื่อสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงทั่วร่างกายได้
• ภาวะที่หัวใจไม่สามารถบีบตัว เพื่อส่งเลือดไปเลี้ยงตามส่วนต่างๆของร่างกายได้เพียงพอกับความต้องการของร่างกายในขณะนั้น(CO) (Cardiac output ลดลง) ภาวะหัวใจล้มเหลว ถือว่าเป็น final common pathway ของโรคที่หัวใจทำงานบกพร่อง
•diastolic dysfunction กล้ามเนื้อหัวใจไม่สามารถคลายตัวเพื่อรองรับเลือดเข้าสู่หัวใจได้ดีพอ
สาเหตุของการเกิดภาวะหัวใจวาย (Etiology)
ความผิดปกติของหัวใจ
ความผิดปกติของกล้ามเนื้อหัวใจ
ความผิดปกติของเยื้อหุ้มหัวใจ
กลไกในการปรับตัวของหัวใจ (compensatory mechanism)
การเปลี่ยนแปลงหน้าที่และขนาดของกล้ามเนื้อหัวใจเรียกว่าventricular remodeling
เพิ่มปริมาณเลือดที่ไหลกลับเข้าสู่หัวใจ กระตุ้นการหลั่งของ renin ทำให้หลอดเลือดหดตัว
เพิ่มอัตราการเต้นของหัวใจ
Shock
ผู้ป่วยช็อคส่วนใหญ่มักจะมีความดันโลหิตต่ำร่วมด้วยอย่างไรก็ตามควรประเมินอาการแสดงของการพร่องการไหลเวียนของอวัยวะส่วนปลายร่วมด้วยเสมอ
ประเภทของ Shock
1.Hypovolemic shock: สาเหตุเกิดจากการลดลงของ preload
Cardiogenic shock: สาเหตุเกิดจากความผิดปกติของหัวใจหรือหลอดเลือดขนาดใหญ่
Distributive shock:สาเหตุเกิดจากการลดลงของ systemic vascular resistance
4.Mixed type shock: เป็นการช็อคที่มีหลายสาเหตุดังกล่าวข้างต้นร่วมกัน
Cardiac arrhythmia (ความผิดปกติในอัตราการเต้นและจังหวะการเต้นของหัวใจ)
ภาวะปกติของการส่งสัญญาณไฟฟ้าหัวใจ
ควบคุมโดย SA node (pace maker) ทำให้เกิดการเต้นที่สอดคล้องกัน ของหัวใจสามารถวัดสัญญาณได้จาก ECG
สาเหตุของการเกิดภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ
•K+ imbalance
•การผิดปกติของภาวะโรคหัวใจอื่นๆเช่น angina, CHF
•การได้รับยาบางชนิดเช่น digoxin, antiarrhythmic drugs
ประเภทของการเกิดภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ
ความผิดปกติของการปล่อยสัญญาณไฟฟ้าหัวใจ
(Disturbance of impulse)
ความผิดปกติในการนำส่งสัญญาณไฟฟ้าหัวใจ
(Disturbance of conduction)
ชนิดของการเกิด arrhythmia
1.Supraventricular arrhythmia
เกิดบริเวณของหัวใจที่อยู่เหนือ ventricle ซ่ึงได้แก่ SA-node, AV-node, atrium
1.2 atrial flutter
heart rate ประมาณ 250-350 คร้ัง/นาที
1.3 atrial fibrillation คือภาวะ atrial flutter ที่รุนแรงมี heart rate 400-600 คร้ังต่อนาที
1.1 supraventricular tachycardia (SVT)
heart rate ประมาณ 150-250 คร้ัง/นาที
Ventricular arrhythmia
เกิดการผิดปกติในการส่งสัญญาณที่ ventricle ทำให้เกิดอันตรายได้มากกว่าชนิดแรก
2.2 Ventricular fibrillation (VF)
• เกิดจากการปล่อยสัญญาณไฟฟ้าหัวใจจาก ectopic foci หลายๆจุดใน ventricle
• การบีบตัวของ ventricle เกิดขึ้นไม่ได้เลย
• อาจทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้
2.3 Premature Ventricular beat (PVBs) หรือ PVC = Premature ventricular contractility
• จังหวะการเต้นของหัวใจที่เกิดข้ึนก่อนเวลาอันควรในแต่ละวงจรของการเตน้นของหัวใจ
• หากมีอาการมากจะนำไปสู่การเกิด ventricular fibrillation
2.4 Bradyarrhythmia
• อัตราการเต้นของหัวใจน้อยกว่า 60 ครั้ง/นาที
2.1 Sustained ventricular tachycardia (VT)
• เพิ่มอัตราการเต้นของ ventricle เป็น 150-250 ครั้ง/นาที
Congenital heart disease (ความพิการของหัวใจแต่กำเนิด)
โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด (Congenital Heart Disease, CHD)
เป็นความผิดปกติด้านโครงสร้างของหัวใจและหลอดเลือดที่พบหลัง
คลอดส่วนใหญ่สัมพันธ์กับความผิดปกติในช่วงที่มีการเจริญเติบโตของระบบหัวใจและหลอดเลือดในช่วงอายุครรภ์ 3 ถึง 8 สัปดาห์
สาเหตุและพยาธิกาเนิด
ประมาณร้อยละ 90 ในเด็กโดยส่วนใหญ่ไม่พบสาเหตุ อาจเกิดจากผลโดยรวมระหวา่งความผิดปกติทางพนัธุกรรมร่วมกับปัจจัยภายนอก
Congenital heart diseases with left-to-right shunt:
(Acyanotic with increased pulmonary blood flow)
2.Ventricular septal defect (VSD)
-VSD ขนาดเล็กเกิด left-to-right shunt น้อยปริมาณเลือดไปปอดไม่มาก เด็กจะเติบโตได้เป็นปกติ
-VSD ขนาดใหญ่เกิด left-to-right shunt ปริมาณมากเลือดไปปอดมากทำให้เกิด heart failure เด็กจะโตช้า ติดเช้ือในทางเดินหายใจบ่อยมักเกิดในช่วง4-6 สัปดาห์หลังคลอด
-รูเปิดที่ interventricular septum ทำให้เกิด left to right shunt ระดับ
ventricle
3.Patent ductus arteriosus :PDA)
ทารกคลอดก่อนกาหนด, Hypoxia, Congenital rubella infection, พื้นที่สูงกวา่ระดับน้ำทะเลมาก เนื่องจากอากาศมีปริมาณออกซิเจนบางเบาพบอุบัติการณ์ของ PDA เพิ่มขึ้น
PDA ขนาดใหญ่จะส่งผลให้เกิด left-to-right shunt เกิด heart failure เมื่อเวลาผ่านไปอาจเกิด pulmonary hypertension (Eisenmenger syndrome)
Ductus arteriosus (DA) ปกติหลังคลอดจะปิดทันทีภายใน 10-15ชั่วโมงโดยอาศัยระดับออกซิเจนในเลือดที่เพิ่มขึ้นกับปริมาณ prostaglandin ที่ลดลงรวมทั้งโครงสร้างของ DA ที่เจริญได้ดีพอที่จะตอบสนองต่อกลไกการปิด
มีการนำยา indomethacin(ยับยั้งการสร้างสาร Prostaglandin) มาใช้ในการทำให้DA หดตัวและปิดได้ผลดีในทารกแรกเกิดโดยเฉพาะอย่างยิ่งทารกเกิดก่อนกำหนด
1.Atrial septum defect (ASD)
-ถ้ารูเปิดมีขนาดเล็กกว่า 3 mm. ปิดเองได้
-ขนาด 3-8 mm มีโอกาสปิดเองได้ก่อนอายุ 18 เดือน
-มีรูเปิดใน interatrial septum ทาใหเ้ กิด left to right shunt และ volumeแก่หัวใจห้องบนขวา right atrium และหัวใจห้องล่างขวา right ventricle overload
-รูเปิดขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ หากไม่รักษาจนเวลาผ่านไปหลายปีจะเกิดpulmonary artery hypertension ทิศทางของ shunt จะเปลี่ยนเป็น right-toleft shunt (Eisenmenger syndrome) จะเกิดลิ่มเลือดไปอุดตัน
-อาการและอาการแสดงถ้า ASD ขนาดเล็กจะไม่พบอาการผิดปกติถ้า ขนาดใหญ่จะพบว่ามีอาการเหนื่อยง่ายเวลาออกกำกายหรือทำงาน, ใจสั่น palpitation,หัวใจเต้นผิดจังหวะ arrhythmia
Ischemic heart disease (ภาวะหัวใจขาดเลือด)
ภาวะที่เลือด (oxygenated blood) ที่มาเล้ียงกล้ามเนื้อหัวใจไม่เพียงพอต่อความต้องการ (demand > supply) จนทำใหเ้ซลล์กล้ามเนื้อใจตาย (myocardialnecrosis)
การวินิจฉัย MI จะต้องพบหลักฐานการตายของเซลล์กล้ามเนื้อหัวใจ(myocardialnecrosis)
หลักฐานทางชีวเคมี ตรวจพบสารบ่งช้ี (biomarkers) ในเลือดที่ถูกปล่อยออกมาจากเซลล์กล้ามเนื้อหัวใจที่ตาย
หลักฐานจากการตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ พบการเปลี่ยนแปลงของ ST-T segmentหรือ Q waves
หลักฐานทางพยาธิวิทยา
หลักฐานทางรังสีวิทยาพบเลือดที่ไปเล้ียงกล้ามเนื้อหัวใจลดลง หรือการทำงานของผนังกล้ามเนื้อหัวใจที่ผิดปกติ
สาเหตุการเกิด
เพศชายมีโอกาสเกิด MI มากกว่าเพศหญิง อาจเนื่องจากระดับฮอร์โมนestrogenในเพศหญิงที่พบสูงกว่ามีผลช่วยปกป้องหัวใจ(cardioprotective effects) ดังจะเห็นได้จากอุบัติการณ์ของ MI ในเพศหญิงจะสูงข้ึนเมื่อเข้าสู่วัยหมดประจำเดือน
Atherosclerosis มักเกิดกับ epicardial coronary arteries ประกอบด้วยหลอดเลือดหลัก 3 เส้นคือ
The left circumflex (LCX)
The right coronary artery (RCA)
The left anterior descending (LAD)
ผู้ป่วยที่มีภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตายจากการขาดเลือดมีสาเหตุมา
จาก coronary atherosclerosis
Hypertension, Hypotension
Hypertension: ความดันโลหิตสูง
ภาวะที่ความดันโลหิตสูงกว่าปกติ
Systolic blood pressure (SBP) > 140 mmHg หรือ
Diastolic blood pressure (DBP) > 90 mmHg
ผู้ป่วยมีความดันเลือดในหลอดเลือดแดงสูงกว่าปกติทำให้หัวใจต้องบีบตัว มากขึ้นเพื่อสูบฉีดเลือดให้ไหลเวียนไปตามหลอดเลือด
Hypotension: ความดันโลหิตต่ำ
Systolic Pressure 80-100 มม.ปรอท
Diastolic Pressure 50-60 มม. ปรอท
สาเหตุของความดันโลหิตต่ำยังไม่มีคาอธิบายที่ชัดเจนแต่ส่วนใหญ่เป็นพันธุกรรมหรือเป็นมาแต่กำเนิดหรือไม่ทราบสาเหตุเรียกว่า Idiopathic Hypotension