Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความเชื่อของศาสนาพุทธ, 12, 13, 14, 15, 16, 17, 18, 19, 20 - Coggle Diagram
ความเชื่อของศาสนาพุทธ
หลักคำสอนในพุทธศาสนา
อริยสัจ
สมุทัย เหตุแห่งทุกข์
นิโรธภาวะทุกข์น้อยลง หรือหมดไป
ทุกข์ ภาวะที่แฝงด้วยความกดดัน
บีบคั้น ขัดแย้ง
มรรค เป็นวิธีปัฏิบัติเพื่อลดสมุทรทัย
หรือปฏิบัติเพื่อให้เกิดนิโรธ
สัมมากัมมันตะ การประพฤติที่ถูกต้อง รักษากิริยาทางกาย
สัมมาอาชีวะ ประกอบวิชาชีพที่สุจริต
สัมมาวาจา ควบคุมวาจาของตน ไม่กล่าวเท็จ ไม่เสียดสี
สัมมาวายามะ พยายามที่จะหยุดความคิดชั่ว มีวินัยในตนเอง
สัมมาสติ การรู้สึกตัวอยู่เสมอ
สัมมาสังกัปปะ มีความคิดถูกต้อง คู่กับสัมมาทิฏฐิ
สัมมาทีฏฐิ มีความถูกต้องความไม่รู้ก่อให้เกิดความผิด
สัมมาสมาธิ การที่จิตใจสงบ ไม่ฟุ้งซ่าน
ปฏิจจสมุปปบาท
กระบวนการของจิตใจ ในการเกิดขึ้น และดับทุกข์
กฎไตรลักษณ์
ทุกขัง คือ ความทุกข์ ถูกบีบคั้น
ไม่สมอยาก ตั้งอยู่ไม่ได้
อนัตตา คือ ความไม่มีตัวตนที่แท้จริง
อนิจจัง คือ ความไม่เที่ยง
ไม่คงตัว เสื่อมสลาย
นิพพาน
ธรรมเป็นที่ระงับสังขารทั้งปวง สิ้นตัณหา
อสังขตธรรม เป็นการสิ้นไปแห่ง ราคะ โทสะ โมหะ
ความดับสนิทของตัณหา ปล่อยวาง สลัดทั้งโดยสิ้นเชิงซึ่งตัณหา
ความคลายกำหนด กำจัดความเมา ความกระหาย
หลักปฏิบัติศีลธรรม ศีล 5
ไม่ลักขโมย
ไม่ประพฤติผิดในกาม
ไม่ฆ่าสัตว์
ไม่โกหก
ไม่ดื่มสุราเมรัย
พุทธศาสนากับการ
ปฏิบัติการพยาบาล
ทุกข์จากอาการโรค
ทุกข์จากความวิตกกังวล
เกิด แก่ เจ็บ ตายเป็นทุกข์ของมนุษย์
ผู้ป่าวยเมื่อยามเจ็บป่วย ต้องรูั้จักทำใจให้สงบ
ร่วมมือกับผู้ให้การดูแล/รักษา
ทุกข์จากภาวะเศรษฐกิจ
หลักปฏิบัติจริยธรรม
ความกตัญญูกตเวที คือ การรู้จักบุณคุณและตอบแทน
ทุกคนจึงมีหน้าที่ต่อกันด้วยการปฏิบัติ
ตามหลักจริยกรรมของพระพุทธเจ้า
พุทธศาสน์กับการดูแล
สุขภาพแบบองค์รวม
การดูแลรักษาด้านจิตใจ
พระพพุทธเจ้าทรงฟังพระมหาจุนทะสาธยาย
โพชฌงค์ที่เวฬวัน แล้วหายจาก
การรักษาดูแลจิตวิญญาณ
ในพรรษาสุดท้ายของพระพุทธเจ้าทรงประชวรหนักที่เวฬคาม
เมืองเวสาลี เมื่อใกล้ปรินิพพาน ทรงมีพระสติสัมมาปรัญญะ ไม่พร่นพรึง
การดูแลรักษาด้านร่างกาย
หมอชีวโกมารภัจจ์ ดูแลให้พระพุทธเจ้าดสวยยาคูปรุง งา ข้าวสาร ถั่วเขียว
ให้ทรงสรงน้ำร้อนละลายด้วยน้ำอ้อย
การรักษาด้านสังคม
อัครวาวกของพระพุทธเจ้า คือพระโมกคัลลานะ ดูแลรักษาพระสารีบุตร
การนำผลการปฏิบัติศีล 5
มาเป็นเครื่องมือในการดูแลสุขภาพ
ศีลข้อ 3 ไม่ประพฤติผิดในกาม
ดังนั้นกลยุทธ์ของการรงณรงค์ผู้ติดเชื้อรายใหม่
ใช้วิธีการประชาสัมพันธ์ รักเดียวใจเดียวไม่เกี่ยวข้องเอดส์
ผู้ที่ประพฤษชติในกามหมายถึง ผูู้รักร่วมเพศ รักเพศเดียวกัน
สาเหตุการเกิดโรคทางเพศสัมพันธุ์ คือ
การติดเชื้อเอชไอวี และกลายเป็นผู้ป่วยเอดส์ในที่สุด
ศีลข้อ 4 ไม่โกหก
ตัวอย่าง ตนเป็นผู้ติดเชื้อแล้วไม่แจ้งความจริงกับภรรยาของตนเอง ฌอกาสที่ทำให้ติดเชื้อมีความสูงมาก
นอกจากส่งผลต่อร่างกาย ด้านจิตใจ และส่งผลต่อครอบครัว
การโกหก พูดไม่จริง เป็นสิ่งที่ทำให้ไม่ได้รับข้อเท็จจริง
ศีลข้อ 2 ไม่ขโมย
ความเครียดก่อให้เกิดการเจ็บป่วยทั้งร่างกายและจิตใจ
อาจถึงขั้นร้ายแรง คือ ต้องได้รับโทษทางกฎหมาย
เครียดจนเกิดโรคทางจิตเวช โอกาสเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย
การไม่ต้องการอยากได้ของผู้อื่นมาเป็นของตน
ศีลข้อ 5 ไม่ดื่มสุราเมทัย
ศีลข้อนี้เมื่อดื่มสุรา หรือ เครื่องดื่มที่มีส่วนผสม
ของแอลกอฮอล์ ทำให้เกิดโรคต่างๆตามมา
อาจเกิดโรคมะเร็งตับ มะเร็งท่อน้ำดี มะเร็งปอด
อันเป็นที่ตั้งความประมาท
ศีลข้อ 1 การไม่ฆ่าสัตว์
ดังนั้นการมีสารตกค้างก็อาจพบในสัตว์เนื้อแดงที่ผิดปกติ
ผูั้บริโภคผัก ควรเป็นผักอินทรีย์ หรือผักปลอดสารพิษ
การใช้ยาปฏิชีวนะในสัตว์มากขึ้นเพื่อรักษาสัตว์ป่วยหรือป้องกันสัตวป่วย
การได้รับสารเคมีที่เป็นพิษต่อร่างกาย อาจเสี่ยงต่อการเกิด
โรคมะเร็งต่างๆ เช่นมะเร็งเต้านมมะเร็งกระเพาะอาหาร
ตามความเชื่อและความศรัธาของผู้ที่นิยมบริโภค
อาหารเจ กินผักกินไม้หยุดทำลายชีวิตสัตว์
การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
แบบประคับประคองแนวทางศาสน์
หลักการและแนวคิดใน
การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
การใส่อุปกรณ์ เอาออกเพื่อให้คนไข้เสียชีวิต
การทำงานเป็นทีม
สิทธิของคนใกล้ต่ยต้องต้องรับรู้ว่าตัวเองเป็นอะไร
การดำเนินของโรคทำให้เกิดเหตุการณ์
และเตรียมวางแผนจัดการอย่างไร
ต้องเริ่มตั้งแต่แรกทั้งผู้ป่วยและครอบครัว
การบรรเทาทุกข์ทรมานในผู้ป่วยระยะสุดท้าย
ต้องดูแลผู้ป่วย แลละครอบครัวทุกๆด้าน
วัตถุประสงค์การดูแล
ผู้ป่วยระยะสุดท้าย
ทำกิจวัตรประจำวันเท่าที่ทำได้
เป็นตัวของตัวเอง
ลดความทุกข์ทรมาน
อยู่อย่างมีคุณค่าในช่วงสุดท้ายของชีวิต
หลัก 7 ประการของการให้ความ
ช่วยเหลือผู้ป่วยระยะสุดท้าย
3.ช่วยให้เขาจดจ่อในสิ่งที่ดีงาม
4.ช่วยให้เขาปลดเปลื้องสิ่งค้างคาใจ เช่น การอบ่งมรดก
2.ช่วยให้เขายอมรับความตายที่จะมาถึง
5.ช่วยให้เขาปล่อยวางสิ่งต่างๆ
การให้ความรัก ความเข้าใจ
6.สร้างบรรยากาศที่เอื้อให้ใจสงบ
กล่าวอำลา อาจพูดขอบคุณสิ่งที่ดีๆ
วิธีปฏิบัติที่ถูกต้องต่อความตาย
ขั้นที่1 มนุษย์ปุถุชนทั่วไป ความตายด้วยความหวาดหวั่นพรั่นกลัว เศร้าท้อแท้ ระยะท้อถอย
ขั้นที่ 2 สูงขึ้นไป เป็นอรยสาวก ระยะระลึกถึงความตายเป็นอนุสติ
ขั้นที่3 คือเท่าทันให้รู้ความตาย มีใจปลอดโปร่ง โล่งสบาย
ความตายตาม
แนวศาสนาพุทธ
ความตายเป็นทั้งวิกฤตและโอกาส
ความตายมีืั้งมิติทางกายภาพและทางจิตวิญญาณ
ความตายเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นตลอดเวลาที่มีอยู่
การประคองรักษาจิตให้สงบ
ความตายเป็นจุดเริ่มต้นและสิ้นสุด
การตรายที่ดีทางพระพุทธศาสนาไม่ใช่ตายอย่างไร
ตายแบบไหน แต่อยู่ที่สภาพจิตใจ
ความตายเป็นทั้งความแน่นอนและไม่แน่นอน
การพยาบาลผู้ป่วยใน
วาระสุดท้ายของชีวิต
การพยาบาลด้าน
จิตใจและจิตวิญญาณ
มีความต้องการให้ใครสักคนอยู่เป็นเพื่อนข้างๆ
ต้องการจากไปท่ามกลางคนที่รัก ญาติพี่น้อง เพื่อนพ้องน้องพี่
สิ่งที่คนใกล้ตายกลัวมากที่สุด คือการถูกทอดทิ้ง
การอยู่อย่างโดดเดี่ยว
เพื่อให้มีเวลาสำหรับการกล่าวลา
และทำการอโหสิกรรมต่อกัน
จิตใจแจ่มใสจะอยู่ในร่างกายที่สมบูรณ์
การพยาบาลด้านร่างกาย
หากริมฝีปากแห้งให้ใช้สำลีชุบน้ำทำความสะอาด แล้วทาวาสลินหรือสีผึ้ง
จมูกแห้ง หมั่นทำความสะอาดและรักษาความชุ่มชื้นไว้
การดื่มน้ำลดลงหรือไม่ดื่มเลย
ดวงตาแห้ง ให้หยอดตาด้วยน้ำตาเทียม
หากพบการเบื่อาหารจะพลผลดีกว่าผลเสีย
มีเสมหะมากควรให้ยาลดเสมหะ
ควรให้ผู้ป่วยในระยะนี้พักผ่อนให้เต็มที่
การดูแลสุขวิทยาส่วนบุคคลขึ้นอยู่กับความจำเป็นและสถานการณ์
ก่อนจิตจะดับนั้นจะต้องมี
อารมณ์อย่างใดอย่างหนึ่ง
กรรมนิมิต คือ กรรมที่กระทำไว้แล้ว ดีก็ดีตาม ไม่ดีก็ตาม จะมาปรากฎให้เห็นในเวลาเมื่อใกล้ตาย
คตินิมิต คือเครื่องหมายภพภูมืจะปรากฎให้เห็น
ในเวลาใกล้ตาย เช่น เห็นกระทะทองแดง เห็นเหว เห็นหอก
กรรมอารมณ์ คือ อารมณ์ของกรรมที่บุคคลกระทำให้แล้ว ดีก็ดีตาม เวลาใกล้จะดับจิตก็จะไปดี ถ้าอารณ์อารมณ์ไม่ดีเกิดขึ้นในเวลานั้นก็ไปไม่ดี