Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช, (ดูสาเหตุ อาการ วิธีการบำบัด…
การพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช
หลักการพื้นฐาน ลักษณะและขอบเขตของงานการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช บทบาทของพยาบาลด้านสุขภาพจิตและจิตเวช
หลักการพื้นฐานของการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช (คุณลักษณะของพยาบาล, เจตคติต่อการเจ็บป่วยหลักการพยาบาล)
ขอบเขตงานการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวชยึดหลักการปฏิบัติทั้ง 4 มิติ (ส่งเสริม ป้องกัน บำบัดรักษา ฟื้นฟู)
บทบาทของพยาบาลด้านสุขภาพจิตและจิตเวช (มี 2 ระดับ คือ ระดับพื้นฐาน/ระดับรอง, ระดับสูง/ระดับผู้เชี่ยวชาญ)
เครื่องมือและการใช้เครื่องมือคัดกรองปัญหาสุขภาพจิต (GHQ, HADS, 2Q 9Q, CES-D)
ระบบและการดูแลต่อเนื่องด้านสุขภาพจิตและจิตเวช
พระราชบัญญัติสุขภาพจิต 2551
แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช
แนวคิดเกี่ยวกับสุขภาพจิตและความผิดปกติทางจิต
1) องค์ประกอบของผู้มีสุขภาพจิตดี / ผู้มีความผิดปกติทางจิตและปัจจัยที่มีผลกระทบต่อภาวะสุขภาพจิต
2) ลักษณะสำคัญและเกณฑ์การจำแนกโรคทางจิตเวชที่พบได้บ่อย (จำแนกโรคทางจิตเวช, แยกระหว่างโรคจิตและโรคประสาท)
3) หลักการสัมภาษณ์ประวัติทางจิตเวชวิธีการตรวจและประเมินสภาพจิตเบื้องต้น (พฤติกรรม, คำพูด, อารมณ์, กระบวนการคิด, การรับรู้, วัน เวลา สถานที่, ความจำ, ความสนใจ, เชาว์ปัญญา, การตัดสินใจ, การรู้จักตนเอง)
ทฤษฎีทางการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช
Medical Model
Nursing Model (เพ็พพลาว, รอย, โอเรม)
Psychosocial Model
1) ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ (ซิกมันด์ ฟรอยด์)
2) ทฤษฎีสัมพันธภาพระหว่างบุคคล (ซัลลิแวน)
3) ทฤษฎีจิตสังคม (อิริคสัน)
4) ทฤษฎีมนุษยนิยม
5) ทฤษฎีทางพฤติกรรมนิยมพฤติกรรมปัญญานิยม
เครื่องมือในการบำบัดทางการพยาบาลจิตเวช
เงื่อนไขที่สำคัญในการสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัดหลักการ และขั้นตอนของกสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด มี 3 ขั้นตอน
Orientation Phase
Working Phase
Pre Orientation Phase
Terminating Phase
เทคนิคการสื่อสารเพื่อการบำบัด
เทคนิคส่งเสริมให้ pt. มีคุณค่า มี 3
Giving recognition
Giving Infromation
Offering self
เทคนิคกระตุ้นให้ pt. เป็นฝ่ายนำในการสนทนา มี 4
การยอมรับ pt. และสิ่งที่ pt. พูด
Using general Lead ใช้คำกล่าวนำ
Reflection
Using Broad Opening
เทคนิคส่งเสริมให้ 2 ฝ่ายเข้าใจตรงกัน มี 3
Verbalizing Implied Thought and Feeling การให้ความหมายความคิดแสดงความรู้สึก
Validating ตรวจสอบความเข้าใจ พยบ. กับ pt.
Clarifying
เทคนิคช่วยกระตุ้นให้ pt. ระบายความคิด ความรู้สึก มี 4
Sharing Observation
Acknowledge the patient's feeling การรับรู้ความรู้สึกของผู้ป่วย
Using Silence
Restatment
เทคนิคช่วยกระตุ้นให้ผู้คิดและไตร่ตรองเรื่องราวใหม่ มี 5
Encourage formulatiom of a plan of action กระตุ้นให้ pt. สร้างประสบการณ์ทางอารมณ์
Encourage Evaluation กระตุ้นให้ pt. ประเมินตนเอ
Exploring
Summarising
Focusing
การตระหนักรู้ในตนเองและการใช้ตนเองเพื่อการบำบัด
ปัญหาและการแก้ไขปัญหาในแต่ละขั้นตอนของการสร้างสัมพันธภาพ
การพยาบาลผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตสังคม
ผู้ที่มีความวิตกกังวล / เครียดอย่างเฉียบ / พลันเรื้อรัง
1) ลักษณะและอาการของผู้ที่มีภาวะวิตกกังวลหรือเครียด / เฉียบพลัน / เรื้อรัง
ความเครียดแบ่งเป็น Acute, Chronic Stress
ระดับความวิตกกังวล Mind, Moderate, Severe Anxiety
2) วิธีการบำบัดทางการพยาบาล
ผู้ที่มีภาวะสูญเสีย / เศร้าโศก
1) ลักษณะและ / อาการสำคัญในแต่ละระยะของ loss & grief process
2) วิธีบำบัดทางการพยาบาล
ผู้มีภาวะซึมเศร้า
1) ลักษณะสำคัญและปัจจัยเหตุของภาวะซึมเศร้า
2) วิธีการบำบัดทางการพยาบาล
ผู้มีภาวะโกรธ
1) ลักษณะสำคัญและปัจจัยเหตุของผู้ที่มีภาวะโกรธ
2) วิธีบำบัดทางการพยาบาล
6.แนวคิดการบำบัดรักษาทางจิตเวช
.3 การรักษาด้วยไฟฟ้า ECT
หลักการพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยไฟฟ้า (ก่อนทำ, ขณะทำ, หลังทำ)
แนวคิดการรักษาด้วยไฟฟ้า (ข้อบ่งชี้, ข้อห้าม)
ผลข้างเคียง
ประเภทของ ECT ( Modified, Unmodified)
ลักษณะการชัก
4 การบำบัดด้วยยาทางจิตเวช
ยาต้านโรคจิต (Antipsychotic drugs)
ข้อบ่งใช้
การออกฤทธิ์
ยา Chlorpromazine, Perphenazine, Thioridazine, Haloperidol, Risperidone, Chozapine, Olanzapine
ผลข้างเคียง
EPS
NMS
Antihistaminic
Anti-alpha-adrenagic
Anticholinergic
การพยาบาล เน้นการลดอาการข้างเคียงของยา
ยาคลายกังวล (Anti Anxity drugs)
ยา Benzodiazepines, Chlordiazepoxide(Librium, Librax), Diazepam, Meddazepam, Lorazepam
ผลข้างเคียง
การออกฤทธิ์
การพยาบาล
ข้อบ่งใช้
ยาต้านเศร้า (Antidepressant drugs)
ยา
MAOI
TCA: Amitriptyline, Impramine, Nortriptyline
การออกฤทธิ์
การพยาบาล
ข้อบ่งใช้
ผลข้างเคียง
ยาควบคุมอารมณ์ (Mood Stabilizing drugs)
ข้อบ่งใช้
การออกฤทธิ์
ยา Lithium, Tricyclic
ผลค้างเคียง พิษจาก Lithium
การพยาบาล
ยากันชัก (Trycyclic anticonvulsant)
การออกฤทธิ์
ยา Carbamazepine
ข้อบ่งใช้
ผลข้างเคียง
การพยาบาล
2 กระบวนการและเทคนิคการให้คำปรึกษาปัญหาสุขภาพจิต
จิตบำบัด (Psycho therapy)
จิตบำบัดรายบุคคลจิต และบำบัดรายกลุ่ม
บทบาทของพยาบาลในการบำบัดทางจิต
ข้อบ่งชี้
การจัดการในภาวะวิกฤตและฉุกเฉิน
1) แนวคิดของภาวะวิกฤตทางอารมณ์และปัจจัยที่ทำให้เกิดภาวะวิกฤต
2) วิธีการช่วยเหลือในภาวะวิกฤตและการพยาบาลในภาวะฉุกเฉิน
นิเวศน์บำบัด (Milieu terapy)
2) บทบาทของพยาบาลในการจัดสิ่งแวดล้อมบำบัด
3) หลักการและแนวทางในการจากตพฤติกรรม (setting insts)
1) แนวคิดหลักการและกิจกรรมในสิ่งแวดล้อมบำบัด
การพยาบาลผู้ที่มีความผิดปกติทางจิต
1 การพยาบาลผู้ที่มีความวิตกกังวลและความเครียดผิดปกติ
Somatoform Disorders (Somatization, Hypochondria, Conversion)
Adjustment Disorders
ผู้ป่วยโรควิตกกังวล (Panic disorder, Phobia disorder. Obsessive Compulsive Disorders. Acute Stress Disorders, Post Traumatic Stress Disorders, Generalized Anxiety Disorders)
2 การพยาบาลผู้ที่มีความผิดปกติด้านความคิดและการรับรู้
ผู้ป่วยโรคจิตเภท (Delusion, Paranoid, Hallucination, Illusion, Withdrawal)
ผู้ป่วยโรคสมองเสื่อม (Dementia) ภาวะสับสนเฉียบพลัน (Delirium)
3 การพยาบาลผู้ที่มีความปกติทางด้านอารมณ์
ผู้ป่วยโรคจิตซึมเศร้า (Depressive Disorder)
ผู้ป่วยโรคอารมณ์สองขั้ว (Bipolar Disorder)
4.การพยาบาลผู้มีความผิดปกติด้านพฤติกรรม
Aggression / Hostility / Violence
Suicidal / Self Destructive Behavior
การพยาบาลผู้ที่มีความผิดปกติด้านบุคลิกภาพ
Antisocial personality
Dependence personality
Borderlinu personality
การพยาบาลผู้ติดสารเสพติด (Substance-related Disorders)
Alcohol
Tobacco / Prescription Drugs / Illicit Substances
การพยาบาลผู้ที่มีความผิดปกติทางเพศ
Sexual function disorder
Gender identity disorder
การพยาบาลผู้ที่มีความผิดปกติทางการกิน
Anorexia
Bulimia
การพยาบาลผู้ป่วยจิตเวชเด็ก
Autistic Disorders
Conduct Disorders
Mental Retardation
Attention Deficit Hyperactivity Disorders
(ดูสาเหตุ อาการ วิธีการบำบัด การพยาบาลเฉพาะของแต่ละโรค)