Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 ความรู้พื้นฐานทางเภสัชวิทยา - Coggle Diagram
บทที่ 2 ความรู้พื้นฐานทางเภสัชวิทยา
ความหมายของยา
2.ใช้ในการวินิจฉัย บำบัด บรรทารักษาป้องกันใช้กับมนุษย์หรือสัตว์
3.เป็นเภสัชเคมีภัณฑ์ หรือเภสัชเคมีภัณฑ์ที่กึ่งสำเร็จรูป
4.มุ่งหมายสำหรับให้เกิดผลแก่สุขภาพ ที่ทำหน้าที่ใดๆของร่างกายมนุษย์กับสัตว์
1.วัตถุที่รองรับในตำรายาที่รัฐมนตรีประกาศ
ความหมายของยา
ยาแผนปัจจุบัน
ยาแผนโบราณ
ยาอันตราย
ยาควบคุมพิเศษ
ยาใช้ภายนอก
ยาใช้เฉพาะที่
ยาสามัญประจำบ้าน
ยาบรรจุเสร็จ
ยาสมุนไพร
ความสำคัญของยา ยาใช้ในการ บำบัด บรรเทา รักษาและป้องกัน
แหล่งที่มาของยา
1.ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ
1.1พืช
1.2สัตว์
1.3แร่ธาตุ
2.ยาสังเคราะห์
วีถีทางและวัตถุประสงค์องการใช้ยา
รูปแบบของยาเตรียม
-ลักษณะของยาที่ผลิตขึ้นมาให้เหมาะสมกับกรใช้งาน
-ประกอบด้วยตัวยา สารปรุงแต่งยา ตัวยาอาจเป็นสารที่ออกฤทธิ์ตัวเดียวหรือหลายตัก็ได้
-รูปแบบของยาควรมีความบริสุทธิ์ถูกต้องตามมาตรฐานที่กำหนดไว้
รูปแบบของยาเตรียม
1.รูปแบบยาเตรียมที่เป็นของแข็ง
-ยาอาจเป็นชนิดเม็ดหรือยาบรรจุซอง มักประกอบด้วยตัวยาที่สำคัญและส่วนประกอบอื่นๆ
-ยาเตรียมชนิดของแข็งผู้ป่วยมีโอกาสได้รับยาในขนาดที่แน่นอนที่สุด
1.1ยาเม็ด
1.2ยาแคปซูล
1.2.1แคปซูลชนิดแข็ง
1.2.2แคปซูลชนิดอ่อน
1.3ยาผง
2.รูปแบบยาเตรียมที่เป็นของเหลว
3.รูปแบบยาเตรียมที่เป็นกึ่งของแข็ง
3.1ครีม
3.2ยาขี้ผึ้ง
3.3เพสท์
3.4ยาเหน็บ
4.ยาขี้ผึ้ง ครีม และเจล
-ยาขี้ผึ้ง ลักษณะเป็นน้ำมัน ใช้ภายนอกหรือเฉพาะที่
-ครีม เป็นยาแขวนละอองที่มีความข้นมากแต่เหลวกว่าขี้ผึ้ง
-เจล เป็นยากึ่งแข็งกึ่งเหลว
วีถีในการให้ยา
1.การให้ยาผ่านทางเดินอาหาร
1.1การรับประทาน
1.2การอมใต้ลิ้น
1.3การให้ยาทางทวารหนัก
2.การให้ยาไม่ผ่านทางเดินอาหาร
2.1การให้ยาฉีด
-การฉีดยาเข้าชั้นใต้ผิวหนัง
-การฉีดยาเข้าชั้นกล้ามเนื้อ
-การฉีดยาเขาหลอดเลือดดำ
2.2การใช้ยาเฉพาะที่
-การให้ยาผ่านผิวหนัง
-ยาหยอด
-ยาเหน็บช่องคลอด
2.3การใช้ยาชนิดสูดดม
วัตถุประสงค์ในการทำยาในรูปแบบต่างๆ
1.พื่อให้ผู้ป่วยได้รับประทานยาในขนาดที่ถูกต้อง
2.ป้องกันการสลายตัวของยา
3.กรบรสตัวยาที่ไม่น่ารับประทาน
4.เหมาะสำหรับเด็กหรือผู้สูงอายุที่กลืนยาเม็ดยาแคปซูลไม่ได้
5.เพื่อให้ยาออกฤทธิ์ติดต่อกันนาน
6.ต้องการใช้เป็นยาภายนอก ใช้สำหรับผิวหนัง หรือเฉพาะที่
7.ใช้สอดเข้าช่องต่างๆของร่างกาย
8.ต้องการให้ยาเข้าทางหลอดเลือดหรือเนื้อเยื่อต่างๆของร่างกาย ทำให้ออกฤทธิ์เร็ว
9.ต้องการให้ตัวยาออกฤทธิ์โดยผ่านระบบสูดดม
10.ต้องการให้ตัวยาออกฤทธิ์ผ่านระบบผิวหนังซึมเข้ากระแสเลือดช้าๆ
การบริหารยา
-ยาก่อนอาหาร
กรณีลืมรับประทานยาก่อนอาหาร รอให้ท้องว่างก่อนรับประทานหรือประมาณ 2 ชั่วโมงหลังรับประะทานอาหาร
-ยาหลังอาหาร
กรณีลืมรับประทานยาหลังอาหาร ควรรับประทานทันทีหรือไม่เกิน 15-30 นาที ท่าเกินให้รอกินในมื้อถัดไป
-ยาหลังอาหารทันที ต้องรับประทานหลังอาหารทันที เนื่องจากกลุ่มนี้อาจทำให้เกิดการระคายเคืองระบบทางเดินอาหารหรือคลื่นไส้อาเจียน
-ยาพร้อมอาหาร
กรณีลืมรับประทานยาหลังอาหารทันทีหรือพร้อมอาหาร คสรรับประทานในมื้อถัดไปแทน
-ยาก่อนนอนหรือหลังอาหารเย็น
กรณีลืมรับประทานยาก่อนนอน ควรรับประทานก่อนนอนในคืนถัดไป
-ยารับประทานเวลามีอาการ
หลักการใช้ยาในผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง
ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง เช่น
-สตรีมีภรรค์
-ผู้สูงอายุ
-สตรีให้นมบุตร
-ผู้ป่วยเด็ก
ผู้ป่วยโรคตับ
หลักการใช้ยา
-เพื่อให้เกิดการใช้ยาอย่างีประสิทธิภาพและปลอดภัย
-ควรคำนึงถึงวิธีการบริหารยา
-คำนึงถึงคุณสมบัติทางฟิสิกส์และเคมีของยา
การเรียกชื่อยา
-ชื่อยาสามัญ
-ชื่อทางเคมี
-ชื่อทางการค้า
คำสั้งการใช้ยา
ชื่อของผู้ป่วย
วันที่
ที่อยู่ของผู้ป่วย
สัญญาลักษณ์ Rx
ชื่อยา
รูปแบบยา
ปริมาณตัวยา
วิธีใช้
ชื่อผู้สั่งยาหรือจัดยา
ใช้อักษรย่อภาษาละตินหรือภาษาอังกฤษ
หนังสือคู่มือการใช้ยา