Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่3 เภสัชพลศาสตร์ (PHARMACODYNAMICS) - Coggle Diagram
บทที่3 เภสัชพลศาสตร์
(PHARMACODYNAMICS)
ความหมาย
เป็นการออกฤทธิ์ของยาต่อร่างกายหรือการที่ยามีผลต่อร่างกายซึ่งเกี่ยวข้องทั้งผลด้านชีวเคมีและสรีระวิทยาของยา
กลไกการออกฤทธิ์ (MECHANISM OF DRUG ACTION)
ยาที่มีตำแหน่งออกฤทธิ์ที่ไม่จำเพาะเจาะจง (non-specifically octing drugs)
ยาที่มีตำแหน่งออกฤทธิ์ที่เฉพาะเจาะจง (specifically octing drugs)
การออกฤทธิ์ผ่านตัวรับ (RECEPTOR-MEDIATEDACTION)
RECEPTOR คือโมเลกุลหรือโครงสร้างที่ทำหน้าที่จับกับยาหรือฮอร์โมนและก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการทำงานของเซลล์หรือเอนไซม์ส่วนใหญ่มีคุณสมบัติเป็นโปรตีน
ความแตกต่างของง NON-SPECIFICALLY ACTING DRUGS
และ SPECIFICALLY ACTING DRUGS
ความแรง (POTENCY) หรือ BIOLOGICAL SPECIFICITY : ยาในกลุ่ม NONSPECIFICALLY ACTING DRUGS จะมีความแรงน้อยกว่า SPECIFICALLY ACTING
DRUGS
CHEMICAL SPECIFICITY : การเปลี่ยนแปลงสูตรโครงสร้างของยาในกลุ่ม SPECIFICALLY
ACTING DRUGS ไปเพียงเล็กน้อยจะท าให้ผลทางเภสัชวิทยาเปลี่ยนไปมาก
การต้านฤทธิ์โดย ANTAGONIST : ยาในกลุ่ม SPECIFICALLY ACTING DRUGS โดยเฉพาะกลุ่มที่ออกฤทธิ์ต่อ RECEPTOR จะถูกต้านฤทธิ์ได้ด้วยยาที่เป็นANTAGONIST
ปฏิกิริยาต่อกันระหว่างยา(DRUG INTERACTION)
ปฏิกิริยาต่อกันของยาในลักษณะเพิ่มฤทธิ์(additive interaction)
ปฏิกิริยาชนิดนี้มักจะเกิดเมื่อเราใช้ยาสองชนิดที่มีฤทธิ์ในทางเภสัชวิทยาเหมือนกันในเวลาเดียวกัน
ปฏิกิริยาต่อกันของยาแบบต้านฤทธิ์กัน(antagonistic interactions)
เกิดเมื่อมีการให้ยาสองชนิดที่มีการออกฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาแบบตรงกันข้ามรวมกันผลลัพธ์ที่ได้คือฤทธิ์ของยาชนิดหนึ่งจะถูกด้านด้วยฤทธิ์ของยาอีกชนิดหนึ่ง
ปฏิกิริยาต่อกันของยาอันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงของกลไกในการขนส่งยา
ยาบางชนิดอาจถูกขัดขวางกระบวนการในการขนส่งยาโดยอีกชนิดทำให้ไม่สามารถส่งไปยังเอาไว้ยวะอื่นๆหรือตำแหน่งออกฤทธิ์ที่เป็นเป้าหมายได้
ปฏิกิริยาต่อกันของยาอันเนื่องมาจากการรบกวนสมดุลย์ของน้ำและอิเลคโตรไลท
เช่นการให้ furosemide ซึ่งเป็น loop diuretic รวมกับ digoxin อาจส่งผลให้กล้ามเนื้อหัวใจมีความไวต่อ digoxin เพิ่มมากขึ้น
อาการไม่พึงประสงค์และพิษของยา
(ADVERSE DRUG REACTION AND DRUG TOXICITY)
อาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา (ADVERSE DRUG REACTION : ADR)
คือการตอบสนองต่อยาที่เป็นอันตรายและเกิดขึ้นโดยไม่ได้ตั้งใจใช้ในขนาดปกติในมนุษย์เพื่อการป้องกันวินิจฉัยหรือรักษาโรค
อาการข้างเคียงจากการใช้ยาหรือ SIDE EFFECT
คือผลใดๆจากเภสัชที่ไม่ได้ตั้งใจให้เกิดขึ้น
เปิดในการใช้ยาปกติในมนุษย์ซึ่งสัมพันธ์กับคุณสมบัติของเภสัชวิทยา
การจำแนกประเภทของ ADR ตามฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของยา
ADR TYPE A
เป็นผลจากเมตาบอไลท์ของยา ความรุนแรงของอาการมีความสัมพันธ์กับขนาดของยา มีอุบัติการณ์การเกิดสูงแต่มีอันตรายการเสียชีวิตน้อย
ADR TYPE B
เป็นปฏิกิริยาตอบสนองเฉพาะสำหรับบางคนเกิดกับผู้ที่มีความไวต่อยา ความรุนแรงของอาการที่เกิดไม่สัมพันธ์กับขนาดของยา มีอุบัติการณ์การเกิดต่ำแต่ทำให้เสียชีวิตได้สูง
พิษของยา (TOXIC EFFECT)
ในระดับที่รุนแรงจนถึงขั้นเป็นพิษเป็นผลของยาที่ใช้ถ้าอยากเพิ่มขนาดใช้ยาอาการพิษก็ยิ่งเพิ่มขึ้นจนอวัยวะนั้นนั้นพิการหรือเสื่อมสภาพไปการใช้ยาในเวลานานติดต่อกันแม้ใช้ในขนาดปกติก็เกิดเป็นพิษได้