Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปการเรียนรู้เรื่องอุบัติเหตุ และสารพิษ, นางสาวปัทมาวรรณ คมขำ …
สรุปการเรียนรู้เรื่องอุบัติเหตุ
และสารพิษ
อุบัติเหตุแต่ละช่วงวัย
วัยก่อนเรียน (4-6 ปี)
การจมน้ำ
อุบัติเหตุจากการจราจร
ถูกของมีคมบาด
กินสารพิษ
วัยเรียน (6-12 ปี)
อุบัติเหตุจากการจราจร
การจมน้ำ
ไฟไหม้ น้ำร้อนลวก
ถูกแมลงหรือสัตว์กัดต่อย และกินสารพิษ
วัยเตาะแตะ (1-3 ปี)
การจมน้ำ
ถูกแมลงหรือสัตว์กัดต่อย
ไฟไหม้ น้ำร้อนลวก
การอุดกั้นทางเดินหายใจ จากกลืนสิ่งแปลกปลอม
ไฟฟ้าช็อต
วัยรุ่น (13-18 ปี)
อุบัติเหตุจากการจราจร
การจมน้ำ
การถูกทำร้ายร่างกาย
การฆ่าตัวตาย
วัยทารก (แรกเกิด-1 ปี)
การหายใจไม่ออกจากการนอนคว่ำบนหมอนขนาดใหญ่
และอ่อนนิ่มเกินไป
การพลัดตกหกล้ม
การสำลักนม
วัยทำงาน ( 15-60 ปี)
อุบัติเหตุจากการจราจร
อุบัติเหตุจากการปฏิบัติงาน
วัยผู้สูงอายุ (>60ปี)
อุบัติเหตุจากการหกล้ม
อุบัติเหตุจากการจราจร
ข้อแนะนำการนอนอย่างปลอดภัย
สำหรับเด็ก
3.อย่าวางผ้าห่ม กองผ้าไว้ใกล้ศีรษะเด็ก
ซึ่งอาจกดทับใบหน้า จมูกทำให้ขาดอากาศหายใจได้
2.เบาะที่นอนที่เหมาะสมต้องมีความแข็ง ไม่หนาและอ่อนนุ่มเกินไป
เพราะเมื่อเด็กพลิกคว่ำแล้วอาจกดทับการหายใจได้
ทารกจัดให้นอนในท่านอนหงายเท่านั้น
ชนิดของอุบัติเหตุที่พบบ่อย
พิษจากสารกัดกร่อน
(corrosives poisoning)
หลักการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
ผู้ได้รับสารกัดกร่อน
ถ้าได้รับอันตรายจากสารเคมีที่ผิวหนัง
ให้ล้างผิวหนังในบริเวณที่ถูกสารเคมี โดยใช้น้ำสะอาดล้างให้มากที่สุด
ถ้าสารเคมีหกรดเสื้อผ้าให้รีบถอดเสื้อผ้าออกก่อน
ห้ามใช้สารแก้พิษใด ๆ เทลงไปบนผิวหนัง
ถ้าได้รับอันตรายจากสารเคมีที่ตา
ให้ล้างตาด้วยน้ำสะอาดให้มากที่สุดทันที โดยเปิดเปลือกตาขึ้น
ให้น้ำไหลผ่านตาอย่างน้อย15 นาที โดยนอนให้ตาที่โดนสารเคมีอยู่ล่าง
ถ้าได้รับอันตรายจากสารเคมีโดยการรับประทาน
ลดอัตราการดูดซึมและทำให้สารเคมีเจือจางลง โดยให้ผู้ป่วยรีบดื่มนม
หรือไข่ดิบ หรือดื่มน้ำเปล่าทันที
ห้ามทำให้อาเจียน หรือกระตุ้นให้อาเจียน
และห้ามรับประทานหรือดื่มสารที่ทำให้มีฤทธิ์เป็นกลาง
ให้ยาถ่าย เพื่อช่วยขับสารเป็นพิษออกจากลำไส้
ถ้าได้รับอันตรายจากสารเคมีในการสูดดม
ให้ย้ายผู้ได้รับสารเคมีนั้น
ออกจากบรรยากาศของสารเคมี ไปที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์
2.การได้รับสารพิษ (Poisoning)
ชนิดของสารพิษ
กลุ่มสารพิษที่มีตะกั่วเป็นส่วนประกอบ เช่น สีทาบ้าน
สีของเล่น สีย้อมผ้า น้ำยากันสนิมถ่านไฟฉาย และแบตเตอรี่รถยนต์
กลุ่มสารกัดกร่อนเป็นสารเคมีจำพวกกรด ด่างเข้มข้น
เช่นน้ำยาล้างห้องน้ำ น้ำยาซักผ้าขาว
กลุ่มน้ำยาทำความสะอาดเสื้อผ้า หรือทำความสะอาดร่างกาย
เช่น ผงซักฟอก น้ำยาซักแห้ง สบู่ก้อน หรือสบู่เหลว
กลุ่มน้ำยาทำความสะอาดเสื้อผ้า หรือทำความสะอาดร่างกาย
เช่น ผงซักฟอก น้ำยาซักแห้ง สบู่ก้อน หรือสบู่เหลว
กลุ่มยาฆ่าแมลง เช่น ยาฆ่าแมลง ยาฆ่ามดปลวก
ชนิดที่ใช้มากสุดคือส่วนประกอบของ Organophosphate
กลุ่มยารักษาโรคมักเกิดจากการได้รับยาเกินขนาด
เช่น แอสไพริน พาราเซตามอล ยาแก้แพ้ มอร์ฟีน และยากลุ่ม barbiturate
การช่วยเหลือเบื้องต้นเมื่อได้รับสารพิษ
กรณีรับประทานสารพิษเข้าไป
จะต้องรีบทำให้ผู้ป่วยอาเจียนทันที ภายหลังอาเจียนให้รับประทานผงถ่าน
บริสุทธิ์ (Activate Charcoal) หรือนม หรือไข่ขาว
และรีบพาส่งโรงพยาบาลทันที
กรณีสารพิษกระเด็นเข้าตา
ให้ล้างด้วยน้ำสะอาด หลาย ๆ ครั้ง นาน 10-15 นาที หลักสำคัญคือ
จะต้องไม่ให้น้ำที่ล้างตาข้างที่ถูกสารพิษไหลเข้าตาข้างที่ไม่ถูกสารพิษ
กรณีหายใจเข้าไป
ให้รีบนำผู้ป่วยออกจากแหล่งที่มีสารพิษทันที
กรณีสูดดมเข้าไปจำนวนมาก หรือรีบนำส่งโรงพยาบาลทันที
กรณีสารพิษหกราดผิวหนัง หรือเสื้อผ้า
ให้รีบล้างด้วยน้ำหลายๆ ครั้ง และถอดเสื้อผ้าออก แล้วใช้น้ำล้างผิวหนังบริเวณที่ถูกสารพิษ และฟอกด้วยสบู่ ล้างด้วยน้ำอีกหลาย ๆ ครั้ง
จมน้า(Drowning)
พบเป็นอุบัติเหตุอันดับหนึ่งของการเสียชีวิตในเด็ก
ถ้าจมน้ำเสียชีวิตภายใน 24 ชั่วโมงเรียกจมน้ำตาย(drowing)
จมน้ำแล้วไม่ทำให้เสียชีวิตและมีชีวิตนานเกิน 24ชั่วโมง
เรียกจมน้ำเกือบตาย(Near drowing)
เมื่อจมน้ำจะเกิดการเปลี่ยนแปลง
ของร่างกาย 3 ประการ
ภาวะขาดออกซิเจน (Hypoxia)
สำลักน้ำและโคลนเข้าปอด (Aspiration)
ภาวะอุณหภูมิกายต่ำ (Hypothermia)
อาการและอาการแสดง
กลุ่ม A (Awake) เด็กในกลุ่มนี้ไม่หมดสติ
เมื่อแรกพบจะมีอาการเขียว หรือไม่หายใจ
กลุ่ม B (Blunted) เด็กในกลุ่มนี้จะมีอาการซึม การหายใจปกติ
การตอบสนองต่อความเจ็บปวดปกติ เด็กจะมีอาการหายใจเร็ว
หายใจลำบาก มีอาการเขียวและอุณหภูมิกายต่ำกว่าปกติ
กลุ่ม C (Comatose) เด็กจะหมดสติ การตอบสนองต่อความเจ็บปวด
ผิดปกติ การหายใจผิดปกติ รายที่มีอาการรุนแรงจะไม่ตอบสนอง
ต่อความเจ็บปวด ไม่หายใจและหัวใจหยุดเต้น
การปฐมพยาบาล
ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจ แต่ชีพจรยังเต้น
ให้ทำการเป่าปาก ช่วยหายใจทันที อย่าเสียเวลาพยายาม
เอาน้ำออกจากปอดผู้ป่วย (เช่น จับแบก พาดบ่า) หรือผายปอดด้วยวิธีอื่น
ถ้าคลาชีพจรไม่ได้ หรือหัวใจหยุดเต้น
เด็กอายุน้อยกว่า 8 ปี กดหัวใจ 30 ครั้ง ช่วยหายใจ(เป่าปาก) 2 ครั้ง
สลับกันในผู้ช่วยเหลือ1คน ถ้าผู้ช่วยเหลือ 2 คน กดหัวใจ15ครั้ง
ช่วยหายใจ 1 ครั้งสลับกัน
เด็กอายุ 8ปีขึ้นไปและผู้ใหญ่กดหัวใจ 30 ครั้ง
ช่วยหายใจ 2 ครั้งสลับกันในผู้ช่วยเหลือ1หรือ2คน
ถ้าผู้ป่วยยังหายใจได้เอง
หรือช่วยเหลือจนหายใจได้แล้ว
ควรจัดให้นอนในท่าตะแคงกึ่งคว่า ใช้ผ้าห่มคลุมผู้ป่วย
เพื่อให้เกิดความอบอุ่น อย่าให้ผู้ปุวยกินอาหารและดื่มน้าทางปาก
4.สัตว์กัดต่อย
ผึ้งแตนต่อและแมลงกัดต่อย
สำหรับกรณีแพ้อย่างรุนแรงอาจมีอาการดังนี้ ลิ้น ริมฝีปากและตาบวม
มีอาการอ่อนแรงของแขนขา ไอหรือหายใจลำบากมีเสียงเหมือนคนเป็น
โรคหอบหืดคลื่นไส้อาเจียนปวดท้องปวดศีรษะและบางรายอาจหมดสติ
งูกัด
ภาวะฉุกเฉินที่ขึ้นอยู่กับชนิดของงู
อาการของพิษงูต่างๆ
พิษต่อระบบประสาท ง่วงซึมหลับปลุกตื่นยาก
พบใน งูเห่า งูจงอาง งูทับสมิงคลา งูสามเหลี่ยม
พิษต่อกล้ามเนื้อ อาการชาบริเวณที่ถูกกัด
เป็นอัมพาต พบใน งูทะเล
พิษต่อระบบโลหิต แผลมีลักษณะช้ำเลือด
พบใน งูแมวเซา งูกะปะ งูเขียวหางไหม้
ห้ามใช้ปากดูดพิษงู
และอวัยวะนั้นต้องอยู่ต่ำกว่าระดับหัวใจ
สุนัข/แมวกัด
รีบทำความสะอาดบาดแผลทันทีด้วยน้ำ
และสบู่ให้สะอาดหลายๆครั้ง แต่ล้างน้ำสบู่ให้สะอาด
2.ใส่ยาฆ่าเชื้อ เช่น โพวิโดน ไอโอดีน หรือฮิบิเทนในน้ำ
หากไม่มีใช้ แอลกอฮอล์/ทิงเจอร์ไอโอดีนและพาไปโรงพยาบาล
การอุดกั้นทางเดินหายใจ
สาเหตุ
เกิดจากสิ่งแปลกปลอมเข้าปาก
เกิดจากการสำลัก ไปปิดกั้นทางเดินหายใจ
เกิดจากสิ่งแปลกปลอมเข้าจมูก
พยาธิสรีรภาพ
การสำลักสิ่งแปลกปลอมจนติดคอจะทำให้เกิดการอุดกั้น
ของทางเดินหายใจส่วนต้น เนื่องจากลักษณะทางกายวิภาค
ของทางเดินหายใจส่วนต้นของเด็กมีขนาดเล็กและแคบ
ส่งผลให้เนื้อเยื่อร่างกายภาวะขาดออกซิเจน
การช่วยเหลือเบื้องต้น
เปิดปากเด็ก ถ้าสามารถมองเห็นสิ่งแปลกปลอม
ให้ใช้นิ้วมือล้วงออก (Finger sweep) แต่ถ้ามองไม่เห็น
ห้าม ใช้นิ้วล้วง และควานหาสิ่งแปลกปลอม
ถ้าเป็นเด็กเล็ก อายุน้อยกว่า 1 ปี ให้วางเด็กลงบนแขนของผู้ช่วยเหลือ
โดยจับให้เด็กอยู่ใน ท่าศีรษะต่ำ ตบหลัง (Back Blow)
และสลับด้วยการอุ้มเด็กนอนหงายบนแขน และใช้นิ้วกลางและนิ้วนาง
ของ มือขวากดบนหน้าอก (Chest thrust)
อย่างละ 5 ครั้ง จนกว่าสิ่งแปลกปลอมจะหลุดออกมา
ถ้าเป็นเด็กโต ให้ใช้เทคนิคการกดบริเวณหน้าท้อง
(Abdominal Thrust หรือเรียกว่า Heimlich Maneuver)
เทคนิคนี้สามารถใช้ทั้งในเด็กที่รู้สึกตัวดี และไม่รู้สึกตัว
เด็กที่รู้สึกตัวดี ผู้ช่วยเหลือยืนข้างหลังเด็กโอบแขนทั้ง 2 ข้าง
บริเวณรักแร้ของเด็ก กำมือขวาให้แน่นวางบริเวณใต้ลิ้นปี่
มือซ้ายวางทับบนมือขวาแล้วออกแรงกด หรือกระแทกอย่างเร็ว
เด็กที่ไม่รู้สึกตัว การช่วยเหลือจะใช้เทคนิคการกดบริเวณหน้าท้อง
โดยการจัดให้เด็กนอนหงาย แหงนคอเล็กน้อย
(Tongue-Jaw Lift) พยายามใช้มือล้วงกวาดสิ่งแปลกปลอมออก
นางสาวปัทมาวรรณ คมขำ
613101052 เลขที่ 52