Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การกำหนดตัวแปร และสมมุติฐานในการวิจัย - Coggle Diagram
การกำหนดตัวแปร
และสมมุติฐานในการวิจัย
ชนิดของตัวแปร
ตัวแปรตามลักษณะการรับรู้
คนทั่วไปรับรู้ ไม่สามารถสังเกตุได้โดยตรง
ตัวแปรตามค่าของการวัด
ค่าจำนวนเต็ม อยู่ในพิสัยที่กำหนด
ตัวแปรตามแหล่งที่มาของการวัด
รูปธรรม ไม่สามารถวัดได้โดยตรง
ตัวแปรตามบทบาทหน้าที่
ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม ตัวแปรควบคุม ตัวแปรเกิน ตัวแปรแทรกซ้อน
ตัวแปร
คุณลักษณะ , คุณสมบัติของสิ่งที่ผู้วิจัยจะศึกษา มีการแปรเปลี่ยนแตกต่างกันไป ค่าที่วัดได้จะใช้เป็นข้อมูลสำหรับการวิจัย
แนวทางการกำหนดตัวแปร
สอดคล้องเหมาะสมกับปัญหาวิจัย
ต้องเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
ตรงความสนใจ น่ารู้
มีคุณค่า หาคุณลักษณะ
ระดับการวัดของตัวแปร
มาตรวัดแบบจัดลำดับ
กำหนดตัวเลขให้กับคุณลักษณะของสิ่งที่ศึกษาแต่ละกลุ่ม
มาตรวัดแบบอันตรภาค
แสดงตำแหน่งที่แตกต่างกันระหว่างกลุ่ม
มาตรวัดแบบอัตราส่วน
กำหนดตัวเลขให้มีคุณสมบัติของมาตรวัดแบบอันตรภาคและเพิ่มความแตกต่างที่จุดศูนย์สมบูรณ์
มาตรวัดแบบกลุ่ม
ใช้การสังเกตสิ่งที่ศึกษาว่ามีการเท่าเทียมกันในคุณลักษณะแล้วจัดกลุ่มสิ่งนั้นๆ
ขั้นตอนในการทดสอบ
ตั้งสมมุตฐาน
คำนวณค่าสถิติทดสอบ
3.การหาเขตวิกฤต
สรุปผลการทดสอบ
ความสำคัญ
ช่วยจำกัดขอบเขตการวิจัย
มองเห็นความสัมพันธ์ของข้อมูลที่นำเสนอ
ช่วยชี้แบบแผนในการวิจัย
ประหยัดเวลา แรงงาน
สมมติฐาน
ข้อสมมติ ข้อความเฉพาะที่ผู้วิจัยคาดคะเน
สามารถหาคำตอบได้โดยวิธีการทางสถิติ
เป็นข้อความที่กล่าวถึงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
ประเภท
กำหนดค่าแน่นอนตายตัวเพียงอย่างเดียว
ไม่ได้กำหนดค่าแน่นอนตายตัว
ในแนวปฏิบัติ
ทางการวิจัย
แสดงความสัมพันธ์ของตัวแปร
ทางสถิติ
สมมุติฐานศูนย์
แสดงข้อความเป็นกลาง
สมมุติฐานทางเลือก
บอกลักษณะ แตกต่างจากแบบหลักที่ทดลอง
ลักษณะสมมติฐานที่ดี
เกี่ยวข้องกับปัญหา
ต้องรัดกุมในขอบเขต
สามารถทดสอบได้ทุกข้อ
สามารถทดสอบได้หลายๆครั้ง
นำไปอธิบายปรากฎการณ์ที่คล้ายคลึงกันได้