Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตและสังคม - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตและสังคม
ระดับความวิตกกังวล
ความวิตกกังวลระดับกลาง
ความวิตกกังวลระดับสูง
ความวิตกกังวลระดับต่ำ
ความวิตกกังวลระดับสูงสุด
ความเครียด
การบำบัดทางการพยาบาล
จัดสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสม
หมั่นสั่งเกตความผิดปกติของร่างกาย จิตใจ และพฤติกรรม
พูดคุยกับครอบครัว หรือเพื่อนสนิท
ความเครียดแบ่งเป็น 4 ระดับ
ระดับต่ำ
ระดับกลาง
ระดับสูง
ระดับรุนแรง
ชนิดของความเครียด
ความเครียดอย่างเฉียบพลัน
ความเครียดเรื้อรัง
ปัจจัยเหตุ
ปัญหาชีวิต
การทำงาน
การเงิน
สุขภาพ
การคิด และการประเมินสถานการณ์ของบุคคล
มองโลกในแง่ลบ
ใจร้อน
การอยู่โดดเดี่ยว
ความเศร้าโศก
รู้สึกผิด
การเงียบ
สิ้นหวัง
โกรธ
ความวิตกกังวล
อาการ
การเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์
ถอนหายใจบ่อย
รู้สึกตระหนก ตกใจ
หงุดหงิดง่าย
การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย
หายใจไม่อิ่ม
ใจสั่น
เบื่ออาหาร เหนื่อยง่าย
หัวใจเต้นเร็วและแรง
หายใจลำบาก
การเปลี่ยนแปลงทางความคิด ความจำ และการรับรู้
ลืมง่าย เหนื่อยง่าย
การคิดและการใช้ภาษาผิดพลาด
การตัดสินใจไม่ดี
การบำบัดทางการพยาบาล
แสดงการยอมรับ ความเห็นอกเห็นใจ ให้กำลังใจ
จัดสภาพแวดล้อมให้สงบ
รู้จักให้กำลังใจตัวเอง
ผู้มีภาวะซึมเศร้า
อาการและอาการแสดง
ภาวะซึมเศร้าเล็กน้อย
ภาวะซึมเศร้าปานกลาง
ภาวะซึมเศร้าชั่วคราว
ภาวะซึมเศร้ารุนแรง
การบำบัดทางการพยาบาล
เข้าไปสร้างสัมพันธภาพ
ดูแลให้ทำกิจวัตรประจำวัน และดูแลสุขอนามัย
ดูแลให้นอนหลับพักผ่อน จัดสภาพแวดล้อมให้สงบ
สนับสนุนให้จัดกลุ่มครอบครัว เพื่อเปิดโอกาสให้สมาชิกในครอบครัวได้รับรู้ปัญหา
จัดกิจกรรมที่ช่วยเสริมสร้างพลังอำนาจทางด้านจิตใจหรือยึดเหนี่ยวทางด้านจิตใจ
ปัจจัยสาเหตุ
ด้านชีววิทยา
ทฤษฏีชีวเคมี
ทฤษฏียีน หรือพันธุกรรม
ด้านสังคม
ทฤษฏีจิตวิเคราะห์
ทฤษฏีปัญญานิยม
ทฤษฏีตัวตน
ภาวะสูญเสีย
การสูญเสียภาพลักษณ์ภายนอกและอัตมโนทัศน์
การสูญเสียบุคคลอันเป็นที่รักหรือบุคคลสำคัญ
การสูญเสียทรัพสินหรือสัตว์เลี้ยงที่ตนรัก
การต้องจากสิ่งแวดล้อมที่คุ้นเคยหรือความรู้สึกที่ปลอดภัย
ปัจจัยที่ทำให้บุคคลผ่านการสูญเสียและโศกเศร้าไปได้ด้วยดี
ปัจจัยภายนอก
ลักษณะของผู้ที่จากไป
บริบทของความตาย
ระบบสนับสนุนทางสังคม
พื้นฐานทางวัฒนธรรม
สภาพเศรษฐกิจและสังคม
ปัจจัยภายนอก
เพศ
บทบาทของผู้ที่จากไป
วุฒิภาวะและเชาว์ปัญญา
ความหมายของสิ่งที่สูญเสีย
ลักษณะความสัมพันธ์
อายุ
สภาพจิตใจ
ประสบการณ์การสูญเสียครั้งก่อน
การบำบัดทางการพยาบาล
เปิดโอกาส
ยอมรับ รับฟัง
รักษา คงไว้
ให้พักผ่อน นอนหลับและออกกำลังกาย
ให้เวลากับสมอง
ระยะของ loss and griet process
ระยะปฏิเสธ และแยกตัว
ระยะต่อรอง
ระยะโกรธ
ระยะยอมรับ
ระยะซึมเศร้า
อาการและอาการแสดง
อาการอ่อนเพลีย คลื่นไส้ อาเจียน หายใจเร็ว-ตื้น แน่นหน้าอก
กิจวัตรประจำวันลดลง ไม่สนใจสิ่งแวดล้อม การสื่อสารลดลง ร้องไห้
บกพร่อง สมาธิลดลง หมกมุ่น ย้ำคิดย้ำทำ
จะเศร้า เสียใจ เบื่อหน่าย โกาธ รู้สึกผิด