Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่2ความรู้พื้นฐานเภสัชวิทยา, รูปแบบยาเตรียม, การเรียกชื่อยา,…
บทที่2ความรู้พื้นฐานเภสัชวิทยา
ความหมายและควมสำคัญของยา
ยาหมายความว่า
2) วัตถุที่มุ่งหมายสำหรับใช้ในการวินิจฉัย บำบัด บรรเทา รักษา หรือป้องกันโรคหรือความเจ็บป่วย ของมนุษย์หรือสัตว์
3) วัตถุที่เป็นเภสัชเคมีภัณฑ์ หรือเภสัชเคมีภัณฑ์ที่กึ่งสำเร็จรูป หรือ
1)วัตถุที่รองไว้ในตำรายาที่รัฐมนตรีประกาศ
4) วัตถุที่มุ่งหมายสำหรับให้เกิดผลแก่สุขภาพ โครงสร้าง หรือการกระทำหน้าที่ใด ๆ ของร่างกายมนุษย์หรือสัตว์
ประเภทของยา
1) ยาแผนปัจจุบัน
2) ยาแผนโบราณ
3) ยาอันตราย
4) ยาควบคุมพิเศษ
5) ยาใช้ภายนอก
6) ยาใช้เฉพาะที่
7) ยาสามัญประจำบ้าน
8) ยาบรรจุเสร็จ
9) ยาสมุนไพร
แหล่งที่มาของยา(Source of Drug)แบ่งออกเป็น2ส่วน
ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ได้แก่ พวกสมุนไพร ซึ่งได้มาจาก
1.1 พืช ได้จากส่วนต่างๆ ของพืช เช่น ตัวยารีเซอฟีนสกัดจากรากของต้นระย่อม ใช้ลดความดันเลือดสูง หรือมอร์ฟีน สกัดจากยางของฝิ่น ใช้เป็นยาระงับปวดหรือ ควินินสกัดจากเปลือกต้นซิงโคนาใช้รักษามาลาเรีย
1.2 สัตว์ ได้จากอวัยวะต่างๆ ของสัตว์ เช่น อินซูลินจากตับอ่อนของหมูและวัว
1.3 แร่ธาตุ เช่น คาโอลิน และกำมะถัน เป็นต้น
2 ยาแผนปัจจุบันที่ใช้กันอยู่ในเวลานี้ส่วนใหญ่ได้มาจากการสังเคราะห์ทางเคมี อาจเป็นยาสังเคราะห์เลียนแบบสารที่ได้จากธรรมชาติ เช่น ยาคลอแรมเฟนิคอล หรือเป็นอนุพันธ์ของสารที่ได้จากธรรมชาติ เช่น ยาปฏิชีวนะ หรือยาสังเคราะห์ที่มิได้ปรากฏในธรรมชาติ เช่น ยาอะลูมิเนียมไฮดรอกไซด์ สารสังเคราะห์หรือกึ่งสังเคราะห์เหล่านี้ อาจมีคุณสมบัติทางเภสัชวิทยาใกล้เคียง หรือแตกต่างจากสารที่ได้จากธรรมชาติก็ได้
คำย่อที่ใช้เกี่ยวกับยา หลักการใช้หนังสือคู่มือการใช้ยา (TIMs,MIMs)
คำย่อที่ใช้เกี่ยวกับยา มักใช้ภาษาละตินตัวอย่าง
Enalapril (5 mg) 1 tab • bid pc
Paracetamol (500 mg) 2 tabs oral prn for pain q 4-6 hr
acก่อนอาหาร
pcsหลังอาหาร
hsก่อนนอน
statใช้ทันทีที่ได้รับยา
odวันเวันวัน
bidวันละ2ครั้ง
tidวันละ3ครั้ง
qidวันละ4ครั้ง
q....hrใช้ทุก....ชั่วโมง
prnเมื่อมีอาการ
การบริหารยาและหลักการใช้ยาในกลุ่มเสี่ยง
-ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง ได้แก่ ผู้สูงอายุ สตรีตั้งครรภ์ สตรีให้นมบุตร ผู้ป่วยเด็ก ผู้ป่วยโรคตับ ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
เพื่อให้เกิดการใช้ยาอย่างมีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัย การใช้ยาทุกครั้งจึงจำเป็นต้องยึดหลักการใช้ยาที่ถูกต้อง 5 ประการ (5 Rights) ได้แก่ ใช้ยาถูกคน (Right patient) ใช้ยาถูกชนิด (Right drug) ใช้ยาถูกขนาด (Right dose) ใช้ยาถูกเวลา (Right time) และใช้ยาถูกวิธี (Right route)-ควรคำนึงถึงวิธีการบริหารยา (Route of drug administration) เพื่อให้ตัวยาสำคัญไปยังบริเวณที่ออกฤทธิ์ในขนาดที่ต้องการและเห็นผลในการรักษา โดยก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้ป่วยน้อยที่สุด -โดยคำนึงถึงคุณสมบัติทางฟิสิกส์และเคมีของยา ตำแหน่งของยาที่จะออกฤทธิ์ วัตถุประสงค์ในการรักษา และสภาวะของผู้ป่วย
การบริหารยา
1)ยาก่อนอาหาร
2)ยาหลังอาหาร
3)ยาหลังอาหารทันที
4)ยาพร้อมอาหาร
5)ยาก่อนนอนหรือหลังอาหารเย็น
6)ยารับประทานเวลามีอาการ
1)ชื่อสามัญ
2)ชื่อทางเคมี
3ชื่อทางการค้า
คำสั่งการใช้ยา
วิถีทางและวัตถุประสงค์การให้ยา
รูปแบบของยาเตรียม (Dosage forms)-ลักษณะของยาที่ผลิตขึ้นมาให้มีรูปแบบเหมาะสมกับการใช้งาน ผลิตได้ง่ายหรือมีคุณสมบัติที่ดีขึ้น
-ตำรับยาโดยทั่วไปประกอบด้วยตัวยา และสารปรุงแต่งยา โดยที่ตัวยาอาจเป็นสารออกฤทธิ์เพียงตัวเดียวหรือหลายตัวก็ได้
รูปแบบของยาที่ดีควรมีความบริสุทธิ์ถูกต้องตามมาตรฐานที่กำหนด มีความสม่ำเสมอของขนาดยา มีประสิทธิภาพดีในการรักษาโรค มีความปลอดภัยแก่ผู้ใช้และไม่เกิดพิษ มีความคงตัวดีและมีลักษณะชวนให้อยากใช้ยา
วิถีทางในการให้ยา ( Routes of administration )
การบริหารยาสามารถแบ่งออกเป็น 2 วิธีได้แก่
1การให้ยาผ่านทางเดินอาหาร
2 การให้ยาโดยไม่ผ่านทางเดินอาหาร
2.1การให้ยาฉีด2.2การให้ยาเฉพาะที่
2.3การให้ยาชนิดสูดดม
1.รูปแบบยาเตรียมที่เป็นของแข็ง (Solid dosage form)
รูปแบบยาเตรียมที่เป็นของเหลว (Liquid dosage form)
รูปแบบยาเตรียมที่เป็นกึ่งของแข็ง (Semisolid dosage form)
รูปแบบยาเตรียม
การเรียกชื่อยา
หลักการให้ยาผู้ป่วนในกลุ่มเสี่ยง
มีส่วนเริ่มต้นของการสั่งยา โดยทั่วไปจะใช้สัญลักษณ์ Rx
มีส่วนของใบสั่งยาที่บอกชื่อยา รูปแบบของยา และปริมาณตัวยาที่มีอยู่ในยาเตรียม 1 หน่วย
บอกจำนวนยาทั้งหมดที่ผู้ป่วยจะได้รับ บอกวิธีการใช้ยา และลงชื่อผู้สั่งใช้ยาผู้จัดยาหรือจ่ายยาให้กับผู้ป่วย
ทั้งนี้การเขียนใบสั่งยาจะใช้อักษรย่อภาษาละตินหรืออักษรย่อภาษาอังกฤษ
องค์ประกอบในใบสั่งยา ได้แก่ วันที่ ชื่อ และที่อยู่ของผู้ป่วย
นางสาว เจนจิรา มายชะนะ UDA6280049
นักศึกษาคณะพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่ 2