Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 8.1 การแจ้งข่าวร้าย (Breaking a bad news), บทที่ 8 8…
บทที่ 8
8.1 การแจ้งข่าวร้าย (Breaking a bad news)
พยาบาลมีบทบาท
ปรึกษาแพทย์เกี่ยวกับข้อมูล การดำเนินโรคแนวทางการรักษา
อธิบายให้ทราบถึงสิ่งที่กำลังจะเกิดขึ้นกับผู้ป่วย
ในระยะโกรธ ควรยอมรับพฤติกรรมทางลบของผู้ป่วยและญาติ
สะท้อนคิดให้ครอบครัวค้นหาเป้าหมายใหม่ในชีวิตอย่างมีความหมาย
ให้ความช่วยเหลือประคับประคองจิตใจ
จัดการกับอาการที่รบกวนผู้ป่วยเพื่อให้ได้รับความสุขสบาย
รับฟังผู้ป่วยและญาติด้วยความตั้งใจ
9.ให้ผู้ป่วยและญาติมีส่วนร่วมในการตัดสินใจการรักษา
สร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้ป่วยและครอบครัว
หมายถึง
ข้อมูลที่ทำให้เกิดความรู้สึกหมดความหวัง มีผลกระทบต่อความรู้สึก การดำเนินชีวิตและอนาคตของบุคคลนั้น ข้อมูลที่เป็นข่าวร้าย
ผู้แจ้งข่าวร้าย
มีข้อมูลที่ชัดเจนเกี่ยวกับแผนการรักษา ผลการรักษาและการดำเนินโรค
ปฏิกิริยาจากการรับรู้ข่าวร้าย
ระยะต่อรอง (Bargaining)
การต่อรองมักจะแฝงด้วยความรู้สึกผิดไว้ด้วยอาจจะ รู้สึกว่าตนเองมีความผิดที่ยังไม่ได้ทำบางอย่างที่ค้างคา หรือยังไม่ได้พูดอะไรกับใครจะต่อรองกับตัวเอง คนรอบข้าง หรือแม้กระทั่งสิ่งศักดิ์สิทธิ์
ระยะซึมเศร้า (Depression)
เมื่อผ่านระยะปฏิเสธ เสียใจ หรือระยะต่อรองไปสักระยะ ผู้ป่วยและญาติจะเริ่มรับรู้ว่าสถานการณ์ที่ เกิดขึ้นเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ ความรู้สึกซึมเศร้าจะเริ่มเกิดขึ้น
ระยะโกรธ (Anger)
ลักษณะ อารมณ์ รุนแรง ก้าวร้าวและต่อต้าน “ทำไมต้องเกิดขึ้นกับเรา” “ไม่ยุติธรรมเลย ทำไมต้องเกิดกับเรา”
5.ระยะยอมรับ (Acceptance)
เป็นปฏิกิริยาระยะสุดท้าย เริ่มยอมรับสิ่งต่างๆตามความเป็นจริง
ระยะปฏิเสธ (Denial)
ช็อคและปฏิเสธสิ่งที่ได้รับรู้ไม่เชื่อไม่ ยอมรับความจริง ไม่เชื่อผลการรักษา
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
มีความเครียดสูงเนื่องจากได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคร้ายแรง
ไม่สามารถยอมรับสภาพความเป็นจริงเมื่อถึงวาระสุดท้ายของชีวิ
มีภาวะซึมเศร้าเนื่องจากไม่สามารถแสดงบทบาทหัวหน้าครอบครัวได้จากการเจ็บป่วยรุนแรง
หมดกำลังใจในการต่อสู้กับโรคที่เป็นเนื่องจากไม่มีความหวังในการรักษา
สัมพันธภาพทางสังคมไม่เหมาะสม (ก้าวร้าว ด่าว่า เอะอะโวยวาย)
เนื่องจากไม่สามารถยอมรับความเจ็บป่วยรุนแรงได้
การเผชิญปัญหาและการปรับตัวของครอบครัวไม่มีประสิทธิภาพเนื่องจากครอบครัวต้องเผชิญกับการเจ็บป่วยรุนแรงของผู้ป่วย
บทที่ 8
8.2ประเด็นทางจริยธรรมในการดูแลผู้ป่วยวิกฤต และการดูแลระยะท้ายของชีวิต
องค์ประกอบของการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายในหออภิบาลผู้ป่วยวิกฤต
การวางแผนหรือการตั้งเป้าหมายการรักษา
การวางแผนหรือตั้งเป้าหมายในการรักษานั้นเป็นเรื่องที่แพทย์และทีมสุขภาพ
การใช้ระบบการให้คะแนนที่มีการศึกษามาก่อนหน้านี้ เช่น multiple organ dysfunction score (MODS)
การดูแลผู้ป่วยท่ีกําลังจะเสียชีวิต
(manage dying patient)
ทําการปิดเครื่องติดตามสัญญาณชีพต่างๆ
ยุติการเจาะเลือด
ควรปิดประตูหรือปิดม้านมิดชิด
ทําความสะอาดใบหน้าช่องปากและ
ร่างกายผู้ป่วย
การดูแลช่วงใกล้เสียชีวิตนี้เป็นเรื่องละเอียดอ่อนมาก ภาพการจากไปของผู้ป่วยในเวลาน้ีจะเป็นภาพที่ครอบครัวจะจดจําตลอดไป ดังนั้นการดูแลให้ทุกอย่างราบรื่นที่สุด
การจัดการอาการไม่สุขสบายต่าง ๆ
จัดการอาการไม่สุขสบายอย่างเต็มที่ อาการไม่สุข สบายที่พบได้บ่อยในผู้ป่วยวิกฤต คือ หอบเหนื่อย ปวด ภาวะสับสน
การสื่อสาร
ผลดีจากการสื่อสารต่อผู้ป่วยเอง พบว่าสามารถลดความไม่จําเป็นในการใช้เครื่องพยุงชีพ สามารถลดระยะเวลานอนรักษาในไอซียู
การดูแลจิตใจครอบครัวผู้ป่วยต่อ
เนื่อง (bereavement care)
การสื่อสารที่ดี และดูแลช่วงใกล้เสียชีวิตอย่างใกล้ชิด สามารถช่วยลดการเกิดความเครียดจากการ สูญเสียคนรักได้
ความแตกต่างระหว่างการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายในหออภิบาลผู้ป่วยวิกฤตและทั่วไป
Multidisciplinary team
ในหออภิบาลผู้ป่วยวิกฤติมีทีมแพทย์ที่ดูแลรักษารวมกันมากกว่า 1 สาขา ส่งผลให้แพทย์แต่ละสาขา มุ้งเน้นใน
การรักษาอวัยวะที่ตนรับผิดชอบ
ผู้ป่วยในหอผู้ป่วยวิกฤติมีอาการไม่สุขสบายหลายอย่างและมีแนวโน้มถูกละเลย
ความไม่แน่นอนของอาการ
ทรัพยากรมีจํากัด
เนื่องจากเตียงผู้ป่วยในไอซียู รวมทั้งอุปกรณ์หรือเครื่องมือต่าง ๆ มีจํากัดการใช้จึงควรพิจารณาใช้กับผู้ป่วยที่มีโอกาสจะรักษาให้อาการดีขึ้นได้ไม่ใช่ใช้กับผู้ป่วยวิกฤติทุกราย
ความคาดหวังของผู้ป่วยและครอบครัว
ผู้ป่วยที่เขารักษาในหออภิบาลผู้ป่วยวิกฤติมักขาดการเตรียมตัวเพื่อรับมือกับภาวะสุขภาพ
สิ่งแวดล้อมในหออภิบาลผู้ป่วยวิกฤต
สิ่งแวดล้อมในไอซียูส่วนใหญ่มักจะพลุกพล่าน วุ่นวาย มีเสียงสัญญาณเตือนดังเกือบตลอดเวลา ไม่เหมาะกับการเป็นสถานที่สุดท้ายก่อนผู้ป่วยจะจากไป
Professionalculture
บุคลากรของทีมสุขภาพที่ทํางานอยู่ในหออภิบาลผู้ป่วยวิกฤติจะคุ้นชินกับการรักษาผู้ป่วยเพื่อมุ่งให้มีชีวิตรอดพ้นจากภาวะวิกฤต
การดูแลผู้ป่วยวิกฤตในระยะท้ายของชีวิต (End of life care in ICU)
การดูแลผู้ป่วยระยะท้าย
มีการดูแลในหอผู้ป่วยวิกฤตน้อยกว่าหอผู้ป่วยอื่นๆ
ผู้ป่วยที่มอาการไม่สุขสบายและไม่ได้รับการจัดการอย่างเหมาะสมมากกว่าหอผู้ป่วยอื่นๆ
การดูแลรักษาของทีมแพทย์และพยาบาลท่ีทํางานในหออภิบาลผู้ป่วยวิกฤต
มีการสื่อสารในหัวข้อแผนการรักษาน้อยกว่าผู้ป่วยอื่นในโรงพยาบาล
วิธีการดูแลที่มุ้งเน้น เป้าหมายเพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตให้ผู้ป่วยที่มีโรคหรือภาวะคุกคามต่อชีวิต
หลักการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายในหออภิบาลผู้ป่วยวิกฤติ
การปรึกษาทีมpalliative careของโรงพยาบาลนั้นๆมารวมดูแลในผู้ป่วยที่เข้าเกณฑ์
ทีมสุขภาพที่ทํางานในไอซียูเป็นผู้เริ่มลงมือด้วยตนเอง
การจัดการอาการไม่สุขสบายต่าง ๆ
Attitude หมายถึง ทัศนคติของทีมสุขภาพอาจส่งผลต่อการปฏิบัติงาน
การสื่อสาร
Behavior หมายถึง การปฏิบัติต่อผู้ป่วยและญาติควรปฏิบัติอย่างให้เกียรติ
การประเมินความต้องการ
Compassion หมายถึง มีความปรารถนาที่จะช่วยให้ผู้ป่วยและญาติไม่ทุกข์ทรมาน
Dialogue หมายถึง เนื้อหาของบทสนทนาควรมุ่งเน้นที่ตัวตนของผู้ป่วย
แบบผสมผสาน
แพทย์เวชบําบัดวิกฤตมีความรูปความสามารถในการดูแลแบบ palliative care ให้กับผู้ป่วยทุกคน และถ้าหากเมื่อใดก็ตามมีข้อบ่งชี้ในการปรึกษาและมีระบบให้คําปรึกษาในโรงพยาบาล ก็ควรให้ทีม palliative care เข้าดูแลร่วมด้วย
ตัวอย่างที่พบบ่อย
(severe COPD with acute exacerbation) ได้การเจาะคอ (tracheostomy)
ผู้ป่วยและครอบครัวได้มีโอกาสร่วมตัดสินใจการรักษา รวมไปถึงอธิบายตัวอย่างผู้ป่วยสามารถเลือกดูแลโดยไม่ใช้เครื่องพยุงชีพ แต่จะได้รับการดูแลโดย มุ่งเน้นท่ีการคุมอาการให้สุขสบายได้
severe acute respiratory dissyndrome
แนะนำให้ทำหัวใจเทียม(extracorporeal membraneoxygenation, ECMO) และมีไตวายเฉียบพลันจำเป็นต้องได้รับการบำบัดทดแทนไต การสื่อสารนอกจากอธิบายข้อดีข้อเสีย