Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาที่ใช้ในระบบประสาทอัติโนมัติ - Coggle Diagram
ยาที่ใช้ในระบบประสาทอัติโนมัติ
การทำงานของระบบประสาทอัติโนมัติ
ระบบประสาทซิมพาเทติค
ต่อสู้หรือถอยหนี
เพิ่มการใช้พลังงานทำให้หัวใจเต้นเร็ว
เพิ่ม cardiac output หลอดลมขยาย
การทำงานของระบบทางเดินอาหารลดลง
ระบบประสาทพาราซิมพาเทติค
การชะลอหรือห้ามระบบ
เพื่อให้พักผ่อนหรือย่อยอาหาร
ลดอัตราการเต้นของหัวใจ
หลอดลมตีบแคบลง
กระเพาะอาหารและกระเพาะปัสสาวะบีบตัว
เพิ่มการหลั่งกรดและน้ำย่อย
สารสื่อประสาท (neurotransmitter) และตัวรับ (Receptor) ในระบบประสาทอัตโนมัติ
สารสื่อประสาทในระบบประสาทซิมพาเทติค
Adrenergic agents
Noradrenaline
จับกับตัวรับเฉพาะที่เรียกว่า Adrenergic receptor
Alpha
Beta
สารสื่อประสาทในระบบประสาทพาราซิมพาเทติค
Cholinergic agents
Acetylcholine (ACh)
จับกับตัวรับเฉพาะที่เรียกว่า Cholinergic receptor
Muscarinic (M)
Nicotinic receptors
สารสื่อระบบประสาทในระบบโซมาติก
มีเส้นประสาทที่ไปยังกล้ามเนื้อลาย
หลั่งAchออกฤทธิ์ที่ Nicotinic receptors กล้ามเนื้อลาย
การแบ่งประเภทของ Adrenergic receptors
α1 พบที่กล้ามเนื้อเรียบของหลอดเลือด ทางเดินปัสสาวะ
α2 พบที่ปลายประสาทซิมพาเทติคที่เนื้อเยื่อต่างๆและในสมองการกระตุ้นจะยับยั้งการหลั่ง norepinephrine
β1 พบที่หัวใจเมื่อถูกกระตุ้นจะเพิ่มแรงบีบตัว อัตราการเต้นของหัวใจ
β2 พบที่กล้ามเนื้อเรียบของหลอดเลือด หลอดลม ทางเดินปัสสาวะ และมดลูก
β3 พบที่เซลล์ไขมันเมื่อมีการกระตุ้นทำให้เกิดการสลายไขมัน
การแบ่งประเภท Cholinergic receptor
Nicotinic receptor
พบที่ปมประสาท
Muscarinic receptor
M1 พบที่สมอง Peripheral neuron และ Gastric parietal
M2 พบที่หัวใจและบางส่วนของ Peripheral neuron
M3 พบได้ตามต่อมมีท่อต่างๆ
M4 พบที่ระบบประสาท
M5 พบที่ Dopamine neuron
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทอัตโนมัติ
ยาโคลิเนอร์จิค (Cholinergic drugs)
กลุ่มยาที่ออกฤทธิ์คล้ายกับการกระตุ้นระบบประสาทพาราซิมพาเทติก
กลไกการออกฤทธิ์ยาออกฤทธิ์กระตุ้น Cholinergic receptor โดยตรง
ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ Acetylcholinesterase และ cholinesterase ทางอ้อม
เอนไซม์ที่ทำลาย Ach
Cholinergic agonist สารโคลิเนอร์จิกออกฤทธิ์โดยตรง
Acetylcholine (Ach)และสารสังเคราะห์ choline ester
กลไกการออกฤทธิ์
Muscarinic
Nicotinic receptor
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ระบบไหลเวียนเลือดสารMuscarinic agonist
ลดความต้านทานหลอดเลือดส่วนปลาย
หลอดเลือดขยายตัว
ลดความดันโลหิต
ลดการเต้นของหัวใจ
ระบบหายใจ
กล้ามเนื้อเรียบหลอดลมหดตัว
ต่อมในหลอดลมหลั่งสารคัดหลั่งเพิ่มขึ้น
1 more item...
ระบบทางเดินปัสสาวะ
กล้ามเนื้อกระเพาะปัสสาวะหดตัว
เพิ่มความดันในกระเพาะปัสสาวะ
ระบบทางเดินอาหาร
เพิ่มการหลั่งสารคัดหลั่ง
น้ำลาย
กรดในกระเพาะอาหาร
ฤทธิ์ต่อตา
ทำให้ม่านตาหรี่
ระบบประสาทส่วนกลางมีฤทธิ์กระตุ้นสมองส่วน cortex
การรับรู้
การเคลื่อนไหว
ความอยากอาหาร
ความปวด
การนำไปใช้ทางคลินิก
ใช้การรักษาระบบทางเดินปัสสาวะ Bethanechol
ใช้รักษาอาการปัสสาวะไม่ออกจากหัตถการการผ่าตัดจากการคลอดบุตร
โรคเกี่ยวกับกระเพาะปัสสาวะไม่ทำงาน
อาการข้างเคียงและความเป็นพิษ
Pilocarpine ชนิดเม็ด
มึนเวียนศีรษะ คล้ายจะเป็นลม
อาเจียน
ปวดมวนท้อง
Pilocarpine แบบหยด
ตามัว
คันตา
ระคายเคือง
ข้อห้ามใช้
ผู้เป็นโรคหอบหืดหรือโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
โรคแผลในกระเพาะอาหารและลำไส้
ผู้ป่วยลำไส้อุดตัน นิ่วทางเดินปัสสาวะ
Anticholinesterase agent สารโคลิเนอร์จิกออกฤทธิ์ทางอ้อม
การนำไปใช้ทางคลินิก
ใช้ในการรักษาอาการลำไส้ กระเพาะปัสสาวะไม่บีบตัว
Neostigmine
ใช้ในการยุติฤทธิ์ของยาคลายกล้ามเนื้อกลุ่มที่เป็น competitive antagonist
เพื่อให้ผู้ป่วยกลับหายใจได้ปกติเร็วขึ้นหลังการผ่าตัด
Neostigmine
Pyridostigmine
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ Acetylcholinesterase
การจับเอนไซม์ถ้าเป็นชั่วคราว
reversible
จับเอนไซม์อย่างถาวร
irreversible
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ผลต่อ nicotinic receptor
กล้ามเนื้อลาย
การบีบตัวของใยกล้ามเนื้อ
กล้ามเนื้อมีอาการสั่นพริ้ว
ผลต่อ muscarinic receptor
ทางเดินปัสสาวะ
ผลต่อกล้ามเนื้อเรียบ
ต่อมของกระเพาะอาหาร
ทางเดินหายใจ
อาการข้างเคียงและความเป็นพิษ
organophosphate
เมื่อได้รับสารนี้จะเกิดพิษ
หลอดลมหดเกร็ง
รูม่านตาเล็ก
หายใจลำบาก
ยาต้านมัสคารินิค (Antimuscarinic Drugs)
เป็นยากลุ่มปิดกั้นหรือยับยั้งฤทธิ์ของ cholinergic drugs
กลไกการออกฤทธิ์
ร่างกายที่ตอบสนองต่อฤทธิ์ยาได้ไว
ต่อมมีท่อต่างๆ
ต่อมเหงื่อ
ต่อมน้ำลาย
ต่อมสารคัดหลั่งในทางเดินหายใจ
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ระบบตา
ไม่สามารถควบคุมเลนส์ให้มองภาพได้ชัด
ความดันในลูกตาสูง
ระบบทางเดินอาหาร
ลดการบีบตัวของหลอดอาหารไปจนถึงลำไส้ใหญ่
ลดความแรงและลดการขับเคลื่อนของกระเพาะอาหารและลำไส้
ระบบหายใจ
ขยายหลอดลม
ยับยั้งการหลั่งของสารคัดหลั่ง
จมูก
ปาก
หลอดลม
กล้ามเนื้อเรียบอื่นๆ
ลดความตึงตัวและความแรงในการบีบตัวของท่อปัสสาวะ
ต่อมเหงื่อ
ขับเหงื่อได้น้อยลง
ไม่สามารถระบายความร้อนออกทางเหงื่อได้
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ทำให้หัวใจเต้นเร็ว
การนำไปใช้ทางคลินิก
ใช้รักษาภาวะกระเพาะปัสสาวะบีบตัวไวมากเกินไป
ใช้ทางจักษุแพทย์
ทำให้รูม่านตาขยาย
ใช้เป็นยาขยายหลอดลม
ใช้เป็นยาป้องกันและรักษาอาการเมารถ เมาคลื่น
อาการข้างเคียงและความเป็นพิษ
ปากแห้ง
คอแห้ง
ใจสั่น
ยากระตุ้นระบบประสาทซิมพาเทติค (Adrenergic drugs)
Adrenergic agents เป็นสารทำให้เกิดการกระตุ้นของประสาทซิมพาเทติค หรือ เรียกว่า Sympathomimetics หรือกระตุ้นAdrenergic receptors (α และ β-receptor)
ยากลุ่ม Sympathomimetics
Catecholamines
ได้แก่
Epinephrine
Norepinephrine (NE)
Dopamine
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ระบบไหลเวียนเลือด
กระตุ้นกล้ามเนื้อเรียบของหลอดเลือดให้หดตัวผ่าน α1 receptor
หลอดเลือดที่ไปเลี้ยงผิวหนัง
อวัยวะภายใน
ไต
เยื่อเมือก
ผลต่อกล้ามเนื้อเรียบ
กระตุ้นผ่าน β2-receptor
หลอดเลือดที่ไปเลี้ยงกล้ามเนื้อลายขยาย
เกิดการคลายตัวของกล้ามเนื้อหลอดลม ทางเดินอาหารและกล้ามเนื้อมดลูก
ผลต่อระบบต่อมไร้ท่อ
ตับอ่อนลดการหลั่ง insulin
เพิ่มการหลั่งglucagon
น้ำตาลในเลือดสูง
ยากลุ่ม Catecholamines
Epinephrine(Adrenaline)
กลไกการออกฤทธิ์
กลไกการออกฤทธิ์กระตุ้นได้ทั้ง α( α1และ α2) และ β(β1และ β2)
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ระบบทางเดินอาหาร
ทำให้กล้ามเนื้อเรียบของทางเดินอาหารคลายตัว
กล้ามเนื้อหูรูดบีบตัว
ระบบหายใจ
กล้ามเนื้อทางเดินหายใจคลายตัว
หลอดลมขยายตัว
ผลต่อเมตาบอลิซึม
ยาเข้าสู่สมองได้น้อยจึงไม่มีฤทธิ์กระตุ้นสมอง
การนำไปใช้ทางคลินิก
ภาวะหัวใจหยุดเต้น
ยา epinephrine เป็นยาชนิดแรกที่ควรเลือกใช้แต้ไม่ใช้ในการรักษาภาวะช็อกจากหัวใจ จากกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลิอด
ใช้เพื่อห้ามเลือด
ใช้ผสมยาชาเฉพาะที่
Norepinephrine
กระตุ้นที่ α1และ β1receptor มีความตอบต่อ α receptor สูงกว่า
เพิ่มความต้านทานรวมของหลอดเลือดส่วนปลายได้มาก
Dopamine; DA (Dopaminex, Dopmin, Intropin)
ออกฤทธิ์ต่อ receptors เมื่อให้ยาต่างชนิดกัน
DA ในขนาดต่ำ
กระตุ้นD1-receptor
1 more item...
DA ขนาดปานกลาง
กระตุ้น β1receptor
1 more item...
DA ในขนาดสูง
กระตุ้น α1 receptor
1 more item...
ประโยชน์ทางคลินิก
รักษาภาวะช็อกจากหัวใจ
รักษาภาวะช็อกจากกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน
Dobutamine
ออกฤทธิ์กระตุ้น กระตุ้น β1receptor ฤทธิ์ต่อ α - receptor มีน้อย
เป็นยากระตุ้นการบีบตัวของหัวใจ
เพิ่ม cardiac output มีผลเล็กน้อยต่ออัตราการเต้นของหัวใจ
ทำให้หลอดเลือดขยายตัว
ประโยชน์ทางคลินิก
รักษาภาวะช็อกจากหัวใจ
รักษาภาวะช็อกจากกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน
อาการข้างเคียงและความเป็นพิษ
ระบบประสาท
วิตกกังวล
ปวดศีรษะ
อาการสั่น
ระบบไหลเวียน
หัวใจเต้นผิดจังหวะ
ปอดบวมน้ำ
เจ็บหน้าอก
Alpha-adrenergic agonist (α-agonist)
Alpha-1 agonist
ยาที่มีฤทธิ์เป็น α1-agonist
มีฤทธิ์เฉพาะเจาะจงที่ α1-adrenergic receptor
Phenylephrine
ทำให้กล้ามเนื้อเรียบของหลอดเลือดหดตัว
2 more items...
ใช้เป็นยาหยอดขยายม่านตา
ยารูปแบบรับประทานหรือแบบพ่นจมูก
2 more items...
ใช้เป็นยาหยอดม่านตา
Midodrine
ทำให้หลอดเลือดหดตัว
1 more item...
ออกฤทธิ์นาน3-4 ชั่วโมง
ใช้ในผู้ป่วยที่มีอาการหน้ามืดจากความดันโลหิตต่ำเมื่อเปลี่ยนอริยาบถ
Alpha-2 agonist
ยาที่มีฤทธิ์เป็น α2-agonist
Clonidine
ทำให้ความดันโลหิตลดลง
ประโยชน์ทางคลินิก
ใช้รักษาความดันโลหิตสูง
3 more items...
Indirect-acting and mixed-type adrenergic agonist
Ephedrine และ pseudoephedrine
Ephedrine ไม่ได้ใช้ทางคลินิกแล้ว
pseudoephedrine
เป็นยาที่ออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทมีใช้อย่างจำกัดในโรงพยาบาล
ใช้เป็นยาลดน้ำมูกและคัดจมูก
อาการข้างเคียงมีมากในผู้ป่วยโรคหัวใจ
ความดันโลหิตสูง
นอนไม่หลับ
Amphetamine
กระตุ้นประสาทส่วนกลางที่มีความแรงสูง
ออกฤทธิ์โดยตรงและทางอ้อม
ยามีผลเพิ่มความดันโลหิต
ในขนาดสูงมีผลทำให้หัวใจเต้นผิดจังหวะ
ผลเด่นชัดต่อระบบประสาทส่วนกลาง
ผลอารมณ์ จิตใจ บุคลิกภาพ ลดความอยากอาหาร จนกระทั่งเคลิ้มเป็นสุข นอนไม่หลับอาจทำให้เกิดการติดยาและต้องเพิ่มขนาดขึ้นเรื่อยๆ
ประโยชน์ทางคลินิก
Epinephrineใช้ในภาวะหัวใจหยุดเต้นมี มีผลเพิ่มความดันโลหิตและเพิ่มเลือดไปเลี้ยงหัวใจ
Asthma และ COPD ใช้เป็นยาขยายหลอดลม
ลดการคั่งการบวมของเนื้อเยื่อในจมูก
Beta-adrenergic agonist
ยาที่จำเพาะต่อ β2-receptor
แบ่งตามระยะเวลาที่ใช้ออกฤทธิ์
ยากลุ่มนี้ใช้เป็นยาขยายหลอดลมสำหรับใช้แก้การเกิดหลอดลมตีบแคบ
โรคหอบหืด
โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
ยาในรูปสูดพ่นออกฤทธิ์เฉพาะที่
ปัจจุบันใช้ร่วมกับ corticosteroid
เพื่อลดการอักเสบของทางเดินหายใจ
เกิดผลข้างเคียงต่ำ
ยาที่ไม่จำเพาะต่อ β-receptor
Isoproterenol
ไม่มีใช้ทางคลินิก
β2 adrenergic agonist
ยาขยายหลอดลมชนิดออกฤทธิ์สั้น
Salbutamol
ออกฤทธิ์ได้เร็วภายใน 15 นาที
ใช้รักษาอาการหลอดลมหดเกร็งเฉียบพลัน และเพื่อขยายหลอดลม
Terbutaline
แบบพ่นใช้บรรเทาอาการจับหืดเฉียบพลัน
ใช้เวลา 1 ชั่วโมง
ชนิดรับประทานยับยั้งมดลูกบีบตัวใช้ในการชะลอหรือป้องกันการคลอดก่อนกำหนด
ยาขยายหลอดลมชนิดออกฤทธิ์ยาว
อาการข้างเคียง
วิตกกังวล
ใจสั่น
หัวใจเต้นเร็ว
Salmeterol และ formoterol
ยาที่มีระยะเวลาการออกฤทธิ์ยาว นานกว่า 12 ชั่วโมง
ยาปิดกั้นอะดรีเนอร์จิครีเซพบเตอร์(Adrenoceptor blocking drugs)
Alpha-adrenergic antagonists
Prazosin, Doxazosin
ยา selective
α1-antagonist ออกฤทธิ์จำเพาะต่อ α1-receptor
ที่อยู่ภายในเซลล์ของกล้ามเนื้อเรียบ ผนังหลอดเลือด หัวใจและต่อมลูกหมาก
เกิดการคลายตัวของกล้ามเนื้อเรียบ
อาการข้างเคียงและความเป็นพิษ
ความดันโลหิตต่ำในขณะเปลี่ยนอริยาบถ
Beta-adrenergic antagonists
มีความจำเพาะต่อ receptor หรือ ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาอื่นๆเพิ่มเติม
Calcium blocker
กระตุ้นสร้าง nitric oxide (NO)
กลุ่มนี้ออกฤทธิ์โดยการยับยั้งที่ β-receptor
ทำให้ β-adrenergic agonists ออกฤทธิ์ไม่ได้ แบ่งเป็น
Non-selective β-adrenergic antagonists
Propranolol
ยับยั้งทั้ง β1และ β2 receptor
ประโยชน์ในการรักษา
ใช้รักษาความดันโลหิตสูง
2 more items...
ลดอาการใจสั่นและมือสั่นในผู้ป่วยที่ต่อมไทรอยด์ทำงานมากกว่าปกติ
รักษาหัวใจเต้นผิดจังหวะ
Selective β-adrenergic antagonists
Metoprolol และ Arenolol
เป็น Selective β1-blocker
รักษาโรคความดันโลหิตสูง
หัวใจเต้นผิดจังหวะ
ลดความเสี่ยงต่อภาวะหัวใจล้มเหลวจากกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
ใช้ป้องกันไมเกรน
ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่มีอัตราการเต้นของหัวใจช้ากว่า 45 ครั้ง/นาที
อาการข้างเคียงและความเป็นพิษ
ระบบประสาท
ปวดศีรษะ
วิงเวียน
นอนไม่หลับ
ระบบหัวใจและหลอดเลือด propranolol ทำให้หัวใจเต้นช้า
ระบบหายใจ
หลอดลมตีบแคบ
หัวใจเต้นผิดจังหวะ