Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 ผู้มีปัญหาทางสุขภาพจิต และจิตสังคม, นางสาวสุดารัตน์ เที่ยงอินทร์…
บทที่ 4 ผู้มีปัญหาทางสุขภาพจิต และจิตสังคม
ความเครียด (Stress)
ความเครียดแบ่งเป็น 4 ระดับ
ระดับปานกลาง (Moderate Stress)
ระดับสูง (High Stress)
ระดับต่ำ (Mild Stress)
ระดับรุนแรง (Severe Stress)
Acute stress
Chronic Stress
อาการแสดง
ด้านจิตใจ
หงุดหงิดง่าย
วิตกกังวล
ด้านพฤติกรรม
ใช้สารเสพติด
โวยวาย
จู้จี้ขี้บ่น
ด้านร่างกาย
หัวใจเต้นเร็วขึ้น
กล้ามเนื้อเกร็ง
ปวดศีรษะ
ผู้มีภาวะสูญเสีย (loss)
การสูญเสียบุคคลอันเป็นที่รัก
การตาย
หย่าร้าง
การต้องจากสิ่งแวดล้อมที่คุ้นเคย
การย้ายบ้าน
ย้ายโรงเรียน
การสูญเสียภาพลักษณ์ภายนอก
การสูญเสียอวัยวะ
การสูญเสียด้านอาชีพการงาน
การสูญเสียทรัพย์สิน
ไฟไหม้บ้าน
สุนัขตาย
ความโศกเศร้า (grief)
ระยะต่อรอง
ความหวังว่าจะมีปาฎิหารย์
ยืดระยะเวลาสูญเสียออกไป
ระยะซึมเศร้า
ไม่พูดคุยกับใคร
ร้องไห้
ระยะปฏิเสธ
ภาวะช็อค (shock)
แยกตัว
ระยะยอมรับ
ระยะโกรธ
ปัจจัย
ปัจจัยภายใน
อายุ
เพศ
บทบาทของผู้ที่จากไป
สภาพจิตใจ
ลักษณะความสัมพันธ์
วุฒิภาวะและเชาว์ปัญญา
ความหมายของสิ่งที่สูญเสีย
ประสบการณ์การสูญเสียครั้งก่อน
ปัจจัยภายนอก
ระบบการสนับสนุนทางสังคม
พื้นฐานทางวัฒนธรรม
บริบทของความตาย
สภาพเศรษฐกิจและสังคม
ลักษณะของผู้ที่จากไป
ผู้มีความโกรธ (Anger)
การบำบัดทางการพยาบาล
. การเปลี่ยนสิ่งแวดล้อม
. การยอมรับความจริง
การสร้างสมดุลทางอารมณ์
การระวังความคิดแบบอัตโนมัติ
การสร้างการสื่อสารที่ดี
การขอคำปรึกษาผู้ที่ไว้วางใจ
เทคนิคแก้ปัญหาด้วยตนเอง
การสร้างความผ่อนคลาย
ฝึกการหายใจ
เล่นกีฬาเบาๆ
สาเหตุ
ปัจจัยภายใน
พันธุกรรม
ความอดทน
คนโกรธง่าย
ปัจจัยภายนอก
การถูกบีบคั้น
ไม่ได้รับความยุติธรรม
การเลียนแบบ
. ผู้มีความวิตกกังวล (Anxiety)
ปัจจัยเหตุ
ปัจจัยทางชีววิทยา
ประหม่าง่าย
ไม่มั่นใจตนเอง
ตัดสินใจไม่ค่อยได้
ปัจจัยทางจิตสังคม
เรื่องงาน
มีการสูญเสีย
มีปัญหาสุขภาพ
การบำบัดทางการพยาบาล
อยู่เป็นเพื่อนพูดคุย
จัดสภาพแวดล้อมให้สงบ
แสดงการยอมรับ
ตอบสนองความต้องการด้านร่างกาย
ทำจิตบำบัด
ฝึกการผ่อนคลายด้วยเทคนิคต่างๆ
ลักษณะอาการ
การเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์
กระสับกระส่าย
โกรธง่าย
เศร้า
การเปลี่ยนแปลงทางความคิด ความจำ และการรับรู้
ครุ่นคิด
หมกมุ่น
ลืมง่าย
การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย
ใจสั่น
หายใจไม่อิ่ม
ผู้มีภาวะซึมเศร้า (Depression)
อาการแสดง
ภาวะซึมเศร้า เล็กน้อย
พฤติกรรม ร้องไห้ง่าย ถดถอย
ความคิด ย้ำคิดย้ำทำ ตำหนิตนเอง
อารมณ์ วิตกกังวล โกรธ รู้สึกผิด
ร่างกาย เบื่ออาหาร หรืออาจรับประทานมากขึ้น
ภาวะซึมเศร้า ปานกลาง
พฤติกรรม การเคลื่อนไหวช้า พูดน้อย
ความคิด ไม่มีสมาธิ คิดช้า
ร่างกาย เบื่ออาหาร น้ำหนักลด
อารมณ์ เหงา หมดหวัง หมดหนทาง
ภาวะซึมเศร้า ชั่วคราว
พฤติกรรม ร้องไห้
ความคิด อาจคิดถึงเรื่องที่ผิดหวังมาก
อารมณ์ หดหู่ เหงา ผิดหวัง เสียใจ
ร่างกาย อ่อนเพลียเล็กน้อย เหนื่อยล้า
ภาวะซึมเศร้า รุนแรง
พฤติกรรม เชื่องช้า ไม่พูด
ความคิด ไม่มีสมาธิ อาจคิดฆ่าตัวตาย
อารมณ์ หมดหวังโดยสิ้นเชิง เฉยเมย
ร่างกาย เบื่ออาหาร น้ำหนักลด
ปัจจัยเหตุ
ด้านชีววิทยา
ทฤษฏีชีวเคมี (Biochemical Theory)
ทฤษฏียีน หรือพันธุกรรม (Genetic theory)
ด้านจิตสังคม
ทฤษฏีจิตวิเคราะห์ (Psychoanalysis Theory)
ทฤษฏีปัญญานิยม (Cognitive Theory)
ทฤษฎีตัวตน (Self Theory)
นางสาวสุดารัตน์ เที่ยงอินทร์ เลขที่ 37