Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 การส่งเสริมสุขอนามัยและการพักผ่อนนอนหลับ - Coggle Diagram
บทที่ 3 การส่งเสริมสุขอนามัยและการพักผ่อนนอนหลับ
[1] การส่งเสริมสุขอนามัย
1.1)) ความสำคัญของการส่งเสริมสุขอนามัย
เพื่อสร้างความมั่นใจในการอยู่ร่วมกับสังคมได้อย่างมีความสุข
เพื่อส่งเสริมความสุขสบายแก่บุคคลเมื่ออยู่ในภาวะเจ็บป่วยนั้น การดูแลสุขอนามัยเป็นความต้องการพื้นฐานของมนุษย์
ช่วยส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีความสุขกายสุขใจ สามารถอดทน
เผชิญต่อความเจ็บป่วยได้
เพื่อช่วยขจัดสิ่งที่ทำให้ผู้ป่วยไม่สุขสบาย
ส่งเสริมให้ผู้ป่วยเกิดความสุขสบายทั้งร่างกายและจิตใจ มีคุณภาพที่ดีและมีความสุข
1.2)) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสุขอนามัยส่วนบุคคล
อายุ
ภาวะสุขภาพ
เพศ
การศึกษา
เศรษฐกิจ
อาชีพ
ถิ่นที่อยู่
ภาวะเจ็บป่วย
สิ่งแวดล้อม
ขนบธรรมเนียมประเพณีและความเชื่อ และวัฒนธรรมของแต่ละบุคคล
ความชอบ
1.3)) การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
การพยาบาลตอนเช้า (Morning care/ A.M care) เป็นหน้าที่ของพยาบาลเวรเช้า ที่จะให้การพยาบาลภายหลังผู้ป่วยรับประทานอาหารเช้าเสร็จเรียบร้อย เป็นการพยาบาลเพื่อดูแล สุขอนามัยส่วนบุคคลประจำวัน
การพยาบาลตอนบ่ายหรือตอนเย็น (Afternoon care/ P.M. care) เป็นหน้าที่ของพยาบาลเวรเช้า หากทำกิจกรรมภายในช่วงก่อนเวลา 16.00 น. หากทาในช่วงเวลาตอนเย็น จะเป็นหน้าที่ของเวรบ่าย
การพยาบาลตอนเช้าตรู่หรือเช้ามืด (Early morning care) เป็นหน้าที่ความรับผิดชอบของพยาบาลเวรดึก ที่ให้การพยาบาลตอนเช้าตรู่หรือเช้ามืด
การพยาบาลเมื่อจาเป็นหรือเมื่อผู้ป่วยต้องการ (As needed care/ P.r.N. care) พยาบาลให้การพยาบาลตามความต้องการของผู้ป่วยตลอด 24 ชั่วโมง
การพยาบาลตอนก่อนนอน (Evening care/ Hour of sleep care/ H.S. care) เป็นหน้าที่ของพยาบาลเวรบ่าย เป็นการพยาบาลที่ให้การดูแลเรื่องการให้หม้อนอนหรือกร ะบอกปัสสาวะ การล้างมือ ล้างหน้าทำความสะอาดปากฟัน การนวดหลัง
1.4)) การดูแลความสะอาดร่างกาย
[1.4.1] การดูแลความสะอาดของผิวหนัง/ การอาบน้ำ (Bathing)
กระตุ้นการไหลเวียนโลหิต
ให้กล้ามเนื้อผ่อนคลาย ลดความตึงตัว
กระตุ้นผิวหนังและต่อมเหงื่อให้ทำงานดีขึ้น
ป้องกันแผลกดทับ
สังเกตความผิดปกติของผิวหนังบริเวณหลัง
[1.4.2] การดูแลความสะอาดปากและฟัน
กำจัดกลิ่นปาก ลมหายใจสดชื่น ป้องกันฟันผุ
ลดการอักเสบของเหงือก กระพุ้งแก้ม
ปากและฟันสะอาด มีความชุ่มชื่น
สังเกตฟัน เหงือก กระพุ้งแก้ม ลิ้น มีแผล หรือการติดเชื้อ หรือเลือดออกหรือฝ้าในช่องปาก
[1.4.3] การดูแลความสะอาดของเล็บ
ป้องกันการเกิดเล็บขบ
ให้เล็บสะอาด และสุขสบาย
[1.4.4] การดูแลความสะอาดของตา
ความสุขสบายของผู้ป่วย
กำจัดขี้ตา ทาให้ดวงตาสะอาด
ส่งเสริมภาพลักษณ์ของผู้ป่วย
[1.4.5] การดูแลทำความสะอาดของหู
ทำความสะอาดใบหูและหลังใบหู
กำจัดสิ่งสกปรกภายในช่องหู
[1.4.6] การดูแลทำความสะอาดของจมูก
ป้องกันสารคัดหลั่งแห้งยึดขนจมูกกับสายที่คาไว้
ป้องกันการเกิดแผลกดทับที่ด้านในรูจมูกจากสายที่คาไว้
กำจัดสิ่งขับถ่ายและสิ่งสกปรกภายในจมูก
[1.4.7] การดูแลความสะอาดของเส้นผมและหนังศีรษะ
ความสุขสบายและสดชื่นของผู้ป่วย
ส่งเสริมภาพลักษณ์ของผู้ป่วยและรู้สึกมีความมั่นใจ
ขจัดความสกปรกและสารที่ใส่บนผม และหนังศีรษะเพื่อการตรวจรักษา
[1.4.8] การทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกของ
ชายและหญิง
ลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะในผู้ป่วยที่ได้รับ
การสวนปัสสาวะคาไว้
เสริมสร้างความสุขบายให้กับผู้ป่วย
กำจัดสิ่งขับถ่าย สิ่งสกปรก และกลิ่นไม่พึงประสงค์
[1.4.9] กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมสุขอนามัยส่วนบุคคลของผู้ป่วย
การประเมินผู้ป่วย (Health assessment)
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
3.2 การส่งเสริมการพักผ่อนนอนหลับ
{2.1} ความหมายของการพักผ่อนและ
การนอนหลับ
การพักกิจกรรมการทำงานของร่างกาย หรือการพักการทำงานของอวัยวะต่าง โดยนั่งเฉยชั่วขณะหนึ่ง
ความสงบทั้งจิตใจและร่างกาย รวมถึง
ความไม่วิตกกังวล สงบหรือผ่อนคลายโดยไม่มีความเครียดทางอารมณ์
การที่ผู้ป่วยได้รับความสุขสบายทั้งด้าน
ร่างกาย และจิตใจเพื่อให้การรักษาพยาบาลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าและการเคลื่อนไหวของร่างกายลดลง
อวัยวะทุกส่วนทางานลดลง รวมทั้งสภาวะจิตใจ และมีการเอนกายลงในท่าสงบนิ่งและหลับตา
{2.2} ความสำคัญของการพักผ่อนและการนอนหลับ
ซ่อมแซมและสร้างเนื้อเยื่อขึ้นใหม่ ช่วยส่งเสริมการหายของแผลรวมถึงมีการช่วยสะสมพลังงานไว้ใช้ในวันต่อไป
สงวนพลังงาน พลังงานที่ใช้ของร่างกายและสมองจะลดลง
ส่งเสริมการเจริญเติบโต ซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ
ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และความจำ
ควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย
{2.3} ผลกระทบจากปัญหาการนอนหลับ
ผลกระทบต่อร่างกาย ทำให้เกิดอาการเปลี่ยนแปลงต่าง เช่น อาการเมื่อยล้าคลื่นไส้ อาเจียน ท้องผูก ปวดศีรษะ วิงเวียนเหมือนบ้านหมุน
ผลกระทบต่อจิตใจและอารมณ์ ทำให้มีการเปลี่ยนแปลงของอารมณ์ได้ง่าย อาจมีอาการเซื่องซึมและหงุดหงิด โมโหง่าย
ผลกระทบต่อสติปัญญาและการรับรู้ เมื่อนอนหลับไม่เพียงพอทำให้การปฏิบัติกิจกรรมในช่วงกลางวันลดลง สมาธิไม่ดี และแก้ไขปัญหาได้ช้า
ผลกระทบทางสังคม บุคคลที่นอนหลับไม่เพียงพอ จะส่งผลทางสังคม ได้แก่ การมีปฏิสัมพันธ์ในครอบครัวและสังคมลดลง ความมั่นใจในการทำงานลดลง
{2.4} วงจรการนอนหลับ
1) ช่วงหลับธรรมดา (Non-rapid eye movement sleep: NREM)
ระยะที่ 1 (เริ่มมีความง่วง) เป็นช่วงเริ่มหลับที่เปลี่ยนจากการตื่นไปสู่ การ
นอน ในคนทั่วไปใช้เวลาตั้งแต่ 30 วินาที - 7 นาที
ระยะที่ 2 (หลับตื้น) การหลับในช่วงต้น เป็นสภาพที่ไม่ได้ยินเสียงรบกวนจากภายนอก เป็นระยะแรกที่มีการหลับอย่างแท้จริง แต่ยังไม่มีการฝัน
ระยะที่ 3 (หลับปานกลาง) ทั้งคลื่นสมองและชีพจรจะเต้นช้าลง ความมีสติรู้ตัวจะหายไป การเคลื่อนไหวของตาจะหยุดลง
ระยะที่ 4 (หลับลึก) เป็นช่วงหลับสนิทของการนอน ใช้เวลา 30 - 50 นาที
2) ช่วงหลับฝัน (Rapid eye movement sleep: REM)
การผลิตความร้อนลดลง ร้อยละ 10-15
อัตราการเต้นของชีพจรจะลดลง 10-30 ครั้งต่อนาที
การหายใจจะลดลง หายใจลึกและอัตราไม่สม่าเสมอ
ความดันเลือดซิสโตลิค (systolic) จะลดลง 20-30 mmHg ขณะหลับสนิท
อุณหภูมิของร่างกายลดลง 0.5-1.0 องศาฟาเรนไฮด์
กล้ามเนื้อและเส้นเอ็นต่าง คลายตัว
ความเจ็บปวด การได้ยิน การสัมผัส กลิ่น และการมองเห็นจะลดลง
ปริมาณปัสสาวะลดลง
{2.5} ปัจจัยที่มีผลต่อการพักผ่อนและการนอนหลับ
2.5.1)) ปัจจัยภายใน
1) ปัจจัยส่วนบุคคล
2) ความไม่สุขสบาย
3) ความวิตกกังวล
2.5.2)) ปัจจัยภายนอก
2] อุณหภูมิ
3] แสง
1] เสียง
4] ความไม่คุ้นเคยต่อสถานที่สิ่งแวดล้อมของ
โรงพยาบาล
5] กิจกรรมการรักษาพยาบาล
6] อาหาร
7] ยา
{2.6} การประเมินคุณภาพการนอนหลับและ การนอนหลับที่ผิดปกติ
2.6.1)) Insomnia เป็นความผิดปกติของการนอนหลับที่พบบ่อยที่สุด
1) การนอนหลับไม่เพียงพอชั่วคราว (Transient insomnia)
2) การนอนหลับไม่เพียงพอระยะสั้น (Short term insomnia)
3) การนอนหลับไม่เพียงพอแบบเรื้อรัง (Chronic insomnia)
2.6.2)) Hypersomnia เป็นการนอนหลับมาก หรือง่วงนอนมากกว่าปกติ
2.6.3)) Parasomnia เป็นพฤติกรรมที่ควรเกิดขณะตื่นแต่กลับเกิดขณะหลับ
1) ความผิดปกติของการตื่น (around disorder)
2) ความผิดปกติที่เกิดขึ้นในช่วงจากหลับมาตื่น หรือจากตื่นมาหลับ
3) กลุ่มอาการที่เกิดขึ้นขณะหลับชนิดที่มีการกรอกตา
4) กลุ่มอื่น ๆ ได้แก่ การนอนกัดฟัน (sleep bruxism) การปัสสาวะรดที่นอนขณะหลับ (sleep enuresis) การกรน (primary snoring) การไหลตาย (suddenunexplained nocturnal death)
{2.7} การส่งเสริมการพักผ่อนการนอนหลับ
2.7.1)) การจัดสิ่งแวดล้อม
ความสะอาด ความเป็นระเบียบเรียบร้อย สวยงามและน่าอยู่อาศัย สภาพแวดล้อมของที่พักต้องสะอาด
อุณหภูมิ มีความเหมาะสมของอุณหภูมิระหว่าง 20-25 องศาเซลเซียส มีการถ่ายเทระบายอากาศดี
ความพร้อมของอุปกรณ์ เครื่องใช้ และเครื่องอานวยความสะดวกต่างๆ
เสียง แหล่งกาเนิดเสียงจากภายนอกห้อง หรือเกิดจากผู้ให้บริการ หรือ จากญาติที่มาเยี่ยมไข้
กลิ่น แบ่งออกเป็น กลิ่นหอมและกลิ่นเหม็น
แสงสว่าง สภาพแวดล้อมที่ดีต้องไม่มืดสลัวหรือสว่างจ้า
จนเกินไปแสงสว่างที่ดีที่สุดควรเป็นแสงธรรมชาติ
ความเป็นส่วนตัว และมิดชิดอย่างปลอดภัย สภาพหอผู้ป่วยสามัญของโรงพยาบาล
ความอบอุ่น และความประทับใจในบุคลิกภาพของพยาบาล
2.7.2)) การจัดท่าทางสำหรับผู้ป่วย
Fowler’s position เป็นท่านอนราบศีรษะสูง 30-90 องศา เป็น
ท่านอนที่สุขสบายและเพื่อการรักษา
Prone position เป็นท่านอนคว่ำ เป็นท่านอนที่สุขสบาย สำหรับผู้ป่วย ที่ไม่รู้สึกตัว แต่มีการหายใจปกติ
Dorsal position (supine position) เป็นท่านอนหงายราบ ขาชิดติดกัน
Lateral position เป็นท่านอนตะแคง จัดเพื่อความสุขสบายของผู้ป่วย ที่ช่วยเหลือเคลื่อนไหวด้วยตนเองไม่ได้
Sitting position เป็นท่านั่งที่สุขสบายสาหรับผู้ป่วยได้เปลี่ยนอิริยาบถ และพักผ่อนได้อย่างมีความสุข
{2.8} การทำเตียง
2) การทำเตียงผู้ป่วยลุกจากเตียงได้ (Open/unoccupied bed)
3) การทำเตียงผู้ป่วยลุกจากเตียงไม่ได้ (Occupied bed)
1) การทำเตียงว่าง (Close bed)
4) การทำเตียงรับผู้ป่วยหลังผ่าตัดและผู้ป่วยที่ได้รับยาสลบ (Surgical/ether/anesthetic bed)
{2.9} กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมการพักผ่อนและการนอนหลับ
การประเมินภาวะสุขภาพ (Health assessment)
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)