Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 ประเด็นทางจริยธรรมในการดูแลผู้ป่วยวิกฤต และการดูแลระยะท้ายของชีวิต…
บทที่ 8 ประเด็นทางจริยธรรมในการดูแลผู้ป่วยวิกฤต และการดูแลระยะท้ายของชีวิต
การดูแลผู้ป่วยวิกฤตในระยะท้ายของชีวิต
องค์ประกอบของการดูแลผู้ป่วยระยะท้าย
การสื่อสาร
ควรมีแผ่นพับแนะนำ
ปิดเครื่องมือสื่อสารทุกครั้งที่พูดคุยกับครอบครัว
หลีกเลี่ยงคำศัพท์แพทย์
ให้เกียรติครอบครัวโดยการฟังอย่างตั้งใจและให้เสนอความคิดเห็น
มีความเห็นใจ
บทสนทนาควรเน้นที่ตัวตนของผู้ป่วยมากกว่าโรค
การจัดการอาการไม่สุขสบายต่าง ๆ
การใส่ใจประเมินอาการและจัดการอาการไม่สุขสบายอย่างเต็มที่
การวางแผนหรือการตั้งเป้าหมายการรักษา
พยากรณ์โรคเพื่อวางแผนรักษา
แจ้งญาติได้
การประชุมครอบครัว (Family meeting)
สร้างความเข้าใจที่ดี
ระหว่างทีมสุขภาพกับผู้ป่วยและครอบครัว
ประเมินความต้องการด้านอื่นๆ
ให้ข้อมูลในการบรรเทาความ
เจ็บป่วย
หาแนวทางและข้อตกลงร่วมกัน
ควรมีการบันทึกการทำการประชุมครอบครัวทุกครั้ง
การดูแลผู้ป่วยที่กำลังจะเสียชีวิต (manage dying patient)
การเตรียมตัวผู้ป่วย
ทำการปิดเครื่องติดตามสัญญาณชีพ
ยุติการเจาะเลือด
ควรปิดประตูหรือปิดม่านให้มิดชิด
ทำความสะอาดใบหน้า ช่องปาก และร่างกายผู้ป่วย
ยุติการรักษาที่ไม่จำเป็น
นำสายต่าง ๆ ที่ไม่จำเป็นออก
อธิบายครอบครัวถึงอาการต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นและวิธีการจัดการช่วงเวลานี
การดูแลจิตใจครอบครัวผู้ป่วยต่อเนื่อง (bereavement care)
ไม่ควรพูดคำบางคำ เช่น “ไม่เป็นไร” “ไม่ต้องร้องไห้”
การสื่อสารที่ดี และดูแลช่วงใกล้เสียชีวิตอย่างใกล้ชิด สามารถช่วยลดการเกิดความเครียดจากการสูญเสียคนรักได้
หลักการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายในหออภิบาลผู้ป่วยวิกฤติ
ทีมสุขภาพที่ทำงานในไอซียู
A = Attitude : ทัศนคติของทีมสุขภาพอาจส่งผลต่อการปฏิบัติงาน
B = Behavior : การปฏิบัติต่อผู้ป่วยและญาติ ควรปฏิบัติอย่างให้เกียรติ
C = Compassion : มีความปรารถนาที่จะช่วยให้ผู้ป่วยและญาติไม่ทุกข์ทรมาน
D = Dialogue : เนื้อหาของบทสนทนาควรมุjงเน้นที่ตัวตนของผู้ป่วยมิใช่ตัวโรค พยายามหาให้พบว่าสิ่งที่สำคัญของผู้ป่วยจริง ๆ คืออะไร
การปรึกษาทีม palliative care
เป็นทีมที่ชำนาญมีความรู้
ลดอัตราการครองเตียงในไอซียูได้
ลดการรักษาที่ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์
สามารถลดการเกิดปัญหาระหว่างทีมสุขภาพกับครอบครัวได้
ลดการเกิด “ICU strain”
เป็นประโยชน์ต่อการดูแลต่อเนื่องหลังจากออกจากไอซียู
การแจ้งข่าวร้าย
ผู้แจ้งข่าวร้าย
การแจ้งข่าวร้ายแก่ผู้ป่วยหรือญาติจึงเป็นหน้าที่สำคัญของแพทย์
ปฏิกิริยาจากการรับรู้ข่าวร้าย
ระยะปฏิเสธ (Denial)
จะรู้สึกตกใจ ช็อคและปฏิเสธสิ่งที่ได้รับรู้ ไม่เชื่อ ไม่
ยอมรับความจริง
ระยะโกรธ (Anger)
อารมณ์ รุนแรง ก้าวร้าว และต่อต้าน
ระยะต่อรอง (Bargaining)
จะต่อรองกับตัวเอง คนรอบข้างหรือแม้กระทั่งสิ่งศักดิ์สิทธิ์
ระยะซึมเศร้า (Depression)
ออกห่างจากสังคมรอบข้างเบื่อหน่าย เก็บตัว ไม่ค่อยพูดคุย ถามคำตอบคำ ไม่สนใจสิ่งแวดล้อม หรืออาจร้องไห้ หงุดหงิดง่าย คิดหมกมุ่นเกี่ยวกับความตาย
ระยะยอมรับ (Acceptance)
เริ่มยอมรับสิ่งต่างๆตามความเป็นจริง อารมณ์เจ็บปวดหรือซึมเศร้าดีขึ้น และมองเหตุการณ์อย่างพิจารณามากขึ้น
บทบาทพยาบาล
สร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้ป่วยและครอบครัว
รับฟังผู้ป่วยและญาติด้วยความตั้งใจ เห็นใจ เปิดโอกาสให้ได้ซักถามข้อสงสัย
ให้ความช่วยเหลือประคับประคองจิตใจให้ผ่านระยะเครียดและวิตกกังวล
ในระยะโกรธ ควรยอมรับพฤติกรรมทางลบของผู้ป่วยและญาติโดยไม่ตัดสิน ให้โอกาสในการระบายความรู้สึก
ปรึกษาแพทย์เกี่ยวกับข้อมูล การดำเนินโรค แนวทางการรักษา
ให้ผู้ป่วยและญาติมีส่วนร่วมในการตัดสินใจการรักษา