Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลสุขภาพข้ามวัฒนธรรม - Coggle Diagram
การดูแลสุขภาพข้ามวัฒนธรรม
วัฒนธรรม(Culture)
หมายถึง วิถีการดำเนินชีวิต(The Way of Life)
ของคนในสังคมซึ่งเป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น
ลักษณะพื้นฐานที่สำคัญ
ของวัฒนธรรม 6 ประการ
วัฒนธรรมเป็นความคิดร่วม(shared)
และค่านิยมทางสังคมเป็นตัวกำหนดมาตรฐานพฤติกรรม
วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่มนุษย์เรียนรู้(Culture is learned)
ซึ่งมนุษย์จะเรียนรู้ทีละเล็กทีละน้อยในสังคมจนกลายเป็น “มรดกสังคม”
วัฒนธรรมมีพื้นฐานมาจากการใช้สัญลักษณ์(Symbol)
เช่น เงินตรา สัญญาณจราจร
วัฒนธรรมเป็นองค์รวมของความรู้และภูมิปัญญา
ทำหน้าที่ตอบสนองความต้องการขั้นพื้นฐานของมนุษย์
มีการวางกฎเกณฑ์แบบแผนในการดำเนินชีวิต
มีการปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อม
วัฒนธรรม คือกระบวนการที่มนุษย์นิยามความหมายให้กับชีวิตและสิ่งต่างๆ
วัฒนธรรม เป็นสิ่งที่ไม่หยุดนิ่งมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
องค์ประกอบของวัฒนธรรม
องค์วัตถุ
(Material)
วัตถุที่มีรูปร่างสามารถจับต้องได้
เช่น เครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ ภาพเขียน สิ่งก่อสร้างต่างๆ
องค์การหรือสมาคม
(Organization)
วัฒนธรรมในส่วนของการจัดระเบียบเป็นองการหรือสมาคม
มีระเบียบแบบแผนหรือกฎเกณฑ์ข้อบังคับ
เช่น สหภาพ สมาคม ชมรม บริษัท
องค์พิธีหรือพิธีการ
(Usage หรือ Ceremony)
พิธีหรือพิธีการต่างๆ ที่มนุษย์สร้างขึ้น นับตั้งแต่การเริ่มต้นของชีวิต
คือการเกิดจนกระทั่งตาย เช่น พิธีรับขวัญเด็ก พิธีโกนจุก หรือพิธีบวชนากพิธีแต่งงาน พิธีงานศพ ซึ่งวิธีเหล่านี้ได้จัดกระทำขึ้นเป็นขนบธรรมเนียมประเพณี
องค์มติหรือมโนทัศน์
(Concepts)
วัฒนธรรมในด้านความคิด ความเชื่อและอุดมการต่างๆ เช่นความเชื่อ
ในเรื่องบาปบุญ ความเชื่อในเรื่องกฎแห่งกรรม ความเชื่อในพระเจ้า
รวมทั้งการมีอุดมการทางการเมืองเป็นต้น
ความสำคัญของวัฒนธรรม
เป็นเครื่องกำหนดความเจริญหรือความเสื่อมของสังคม
เช่น การรดน้ำดำหัวผู้ใหญ่ คือให้รู้จักการออมน้อมถ้อมตน
ทำให้เข้าใจชีวิตความเป็นอยู่ค่านิยมของสังคมและความเชื่อส่วนบุคคล
เช่น คนจีนเวลาไปไหนเค้าจะไม่นอนห้องที่เป็นเลขสี่
ให้ทำให้มีความรู้สึกเป็นพวกเดียวกันและให้ความร่วมมือกัน
ทำให้เกิดความสงบเรียบร้อยในสังคม คือทำตามกฎระเบียบ
ทำให้มีพฤติกรรมเป็นแบบเดียวกัน เช่น คนนับถือศาสนาคริส
วันอาทิตย์ก็จะไปโบสถ์ เชื่อทางเดียวกัน
ทำให้เข้ากับคนพวกอื่นในสังคมเดียวกันได้
ให้มนุษย์มีสภาวะที่แตกต่างจากสัตว์
คุณค่า ความเชื่อ ค่านิยมทางสังคม
ที่มีผลต่อหลักการในการดำเนินชีวิต
ประเภทของความเชื่อ
ความเชื่อในสิ่งปรากฏอยู่จริง
เช่น เชื่อว่าพระอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออก
และตกในทิศตะวันตก
ความเชื่อขั้นพื้นฐานของบุคคล
เกิดจากประสบการณ์โดยตรง
และเกิดจากการแลกเปลี่ยนพบปะสังสรรค์
ความเชื่อแบบประเพณี
ในภาคเหนือเชื่อในเรื่องเกี่ยวกับผีและอำนาจเหนือธรรมชาติเกี่ยวกับป่าภูเขาและลำน้ำ
ความเชื่อแบบเป็นทางการ
เช่น ความเชื่อที่มีต่อหลักคำสอนในพระพุทธศาสนา
เรื่องของการมีสติความไม่ประมาท
ความเชื่อเกี่ยวกับสาเหตุของการเกิดโรค
และวิธีการดูแลสุขภาพ
ความเชื่อแบบอำนาจเหนือธรรมชาติ
เช่น การเชื่อว่าความเจ็บป่วย
เกิดจากการกระทำของผี
วิธีการดูแล
คือกลุ่มหมอดู กลุ่มหมอสะเดาะเคราะห์
กลุ่มหมอทำ และกลุ่มหมอตำรา
ความเชื่อแบบพื้นบ้าน
เช่น ความเจ็บป่วยที่เกิดจากการขาดสมดุลธาตุความเจ็บป่วยที่เกิด
จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
วิธีการดูแล
หมอสมุนไพร หมอเป่า หมอกระดูก และหมอน้ำมัน
หมอนวด และหมอตำแย
ความเชื่อแบบการแพทย์แผนตะวันตก
เช่น การเจ็บป่วยเกิดจากเชื้อโรค
ความเจ็บป่วยเกิดจากพันธุกรรม
วิธีการดูแล
แพทย์หรือหมอที่ได้ผ่านการเรียนด้านแพทย์ศาสตร์มาโดยเฉพาะ
ผู้ให้การดูแลด้านเภสัชและการพยาบาล
ความเชื่อในช่วงเปลี่ยน
ผ่านสถานะการณ์ชีวิต
ความเชื่อและการดูแลสุภาพ
เกี่ยวกับการเกิดแบบพื้นบ้าน
ระยะตั้งครรภ์
เชื่อว่ามีความสัมพันธ์กับดวงดาวในระบบจักรวาล เช่น ลูกจะตกด้านดีหรือไม่ดี การดูแล คือดูแลสุขภาพจิตสุขภาพกายดูแลทารกในครรภ์การฝากครรภ์
ระยะคลอดบุตร
เชื่อว่า ท่าทางในการคลอดเกิดความเป็นสิริมงคล
การดูแล คือการจัดสถานที่และท่าทางในการคลอด
การตรวจครรภ์ก่อนคลอด
ระยะหลังคลอด
ความเชื่อเรื่องผี ความเชื่อเรื่องกรรม ความเชื่อเรื่องการบำรุงร่างกาย
การดูแล การอยู่การอยู่ไฟ การนาบหม้อเกลือ การประคบสมุนไพรไทยการนวดหลังคลอด
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพ
เกี่ยวกับการเกิดแบบแพทย์ตะวันตก
ความเชื่อเรื่องเกี่ยวกับการตั้งครรภ์
เป็นภาวะที่ตัวอ่อนหรือทารกได้ก่อกำเนิดขึ้นภายในมดลูก
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพ
เกี่ยวกับความชรา
แบบพื้นบ้าน
ภาวะหมดประจำเดือนในเพศหญิง
การเสื่อมสมรรถภาพทางเพศชาย
และความแปลกปวนของธาตุลม
การดูแล
การใช้สมุนไพร การดูแลอาหาร การดูแลด้านสุขภาพ
ทางเพศการ ดูแลสุขภาพโดยพึ่งพิงศาสนา
แบบการแพทย์แผนตะวันตก
ความชรากำหนดอายุตั้งแต่ 60ถึง65ปี
ขึ้นไปเป็นเกณฑ์เข้าสู่วัยชรา
การดูแล
การดูแลด้านโภชนาการ การดูแลด้านฮอร์โมน การดูแลร่างกายออกกำลังกาย การดูแลด้านพักผ่อนนอนหลับ การดูแลด้านอุบัติเหตุ
การดูแลด้านจิตใจ
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพ
เกี่ยวกับความตาย
แบบพื้นบ้าน
มีความเชื่อในเรื่องวิญญาณ กฎแห่งกรรม
การเวียนว่ายตายเกิดและชาติภพ
การดูแล
ให้สร้างความดีและผลบุญเพื่อการตายอย่างสงบ
เกิดความสุขความเจริญในภพหน้า
แบบแพทย์แผนตะวันตก
จะพิจารณาจากการหยุดทำงานของหัวใจ
และการทำงานของแกนสมอง
การดูแล
มุ่งเน้นให้ระบบและอวัยวะต่างๆสามารถทำงานต่อไปได้และยืดชีวิตผู้ป่วยให้ยาวนานมากที่สุดภายใต้เครื่องมือและอุปกรณ์ทางการแพทย์ที่ทันสมัย
ค่านิยมทางสังคม
ปัจจัยทางสังคมหลายอย่าง
เข้ามามีอิทธิพลต่อการเรียนรู้
ครอบครัว
ครอบครัวเป็นหน่วยแรกที่อบรมสั่งสอนพฤติกรรมสังคมให้แก่คนตั้งแต่เกิดจนโต สิ่งใดที่ครอบครัวอบรมสั่งสอนไว้ย่อมมีผลต่อการปฏิบัติของคนอยู่ไม่มากก็น้อย
โรงเรียน
การสั่งสอนเด็กให้เกิดความคิด ความเชื่อ
อันจะนำไปสู่แบบแผนการมีพฤติกรรมที่ดี
สถาบัน
ศาสนา
การปลูกฝั่งค่านิยมและศีลธรรม
อันถูกต้องได้เป็นอย่างดี
สังคมวัยรุ่น
และกลุ่มเพื่อน
การคบหาสมาคมกับเพื่อนในรุ่นเดียวกัน ไม่ว่าจะเป็นกลุ่มเพื่อนสนิท
การทำกิจกรรมอื่นๆในสังคมวัยรุ่น ผลที่ได้รับ คือการเรียนรู้ด้วยการ
ยอมรับค่านิยมจากกิจกรรมเหล่านั้น
สื่อมวลชน
ค่านิยมในการแต่งกายตามสมัยนิยม ทรงผม
สื่อมวลชน มักนำความคิดเช่นนี้ออกไปเผยแพร่คนในสังคมโดยเฉพาะเด็กและวัยรุ่นจะรับความคิดนี้เข้าไว้โดยไม่รู้ตัว ถ้าความคิดนั้นสอดคล้องกับความต้องการของเด็กเค้าก็จะติดตามเรื่องนั้นมากขึ้น
ไม่นานค่านิยมใหม่ก็จะเกิดขึ้นโดยอาศัยสื่อมวลชน
องค์การของรัฐบาล
ปลูกฝั่งค่านิยมให้แก่คนในสังคม ทำไม่ได้กระทำโดยตรงก็กระทำโดยทางอ้อม เช่นการเลือกตั้งที่มีความประชาธิปไตย
ความหมาย
ถือได้ว่าเป็นวัฒนธรรมที่กำหนดพฤติกรรมของสมาชิกสังคมนั้นๆโดยทุกคนจึงมีระบบค่านิยมของตนเองซึ่งถือเป็นลักษณะเฉพาะที่คนในสังคมนั้นนั้นยึดถือว่ามีคุณค่าร่วมกันเกิดจากการอบรมบ่มนิสัยหรือการปลูกฝั่งค่านิยมตั้งแต่ในวัยเด็กจนเกิดความเคยชินและหล่อลอมจนกลายเป็นบุคลิกภาพ
วัฒนธรรมการดูแลสุขภาพและการแสวงหา
การรักษาของประชาชนในภูมิภาคต่างๆของโลก
แนวคิดเกี่ยวกับวัฒนธรรม
กับการดูแลสุขภาพ
ส่งเสริมสุขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรง
ปราศจากโรคภัยใครเจ็บ
ป้องกันไม่ให้เกิดการเจ็บป่วยหรือพิการ
ดูแลรักษาสุขภาพเมื่ออยู่ในภาวะเจ็บป่วยเป็นโรค
ฟื้นฟูสุขภาพให้เข้าสู่ภาวะปกติ
ประเภทของวัฒนธรรม
กับการดูแลสุขภาพ
วัฒนธรรมการดูแลสุขภาพ
ในสภาวะปกติ
การส่งเสริมสุขภาพ
การกินอาหารประเภทน้ำพริกผักจิ้ม และอาหารจากธรรมชาติ
การออกกำลังกาย การเข้าวัด ถือศีล ทำสมาธิ
ทำบุญตักบาตร งดบริโภคสุราและสิ่งเสพติด
การป้องกันโรค
การบริโภคอาหารปรุงสุก การคว่ำกะลาหรือ
ใส่ทรายอะเบทเพื่อป้องกันการแพทยระบาดของยุงไลน์
การรับวัคซีนภูมิคุ้มกันโรค
วัฒนธรรมทำการดูแลสุขภาพ
ในสภาวะเจ็บป่วย
การรักษาโรค
ในแต่ละสังคม ต่างมีระบบการดูแลสุขภาพที่มีความเชื่อมโยงกัน
ได้แก่ ระบบการดูแลสุขภาพภาคประชาชน แบบพื้นบ้านและแบบวิชาชีพ
การฟื้นฟูสมรรถภาพ
การดูแลการพักฟื้นของผู้ป่วยจากคนในครอบครัว
การงดบริโภคอาหารแสลง การออกกำลังกาย
เพื่อเสริมสร้างความแข็ง แรง
ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพ
ขนบธรรมเนียมประเพณี
ที่ส่งเสริมสุขภาพ
เช่น การให้ทารกกินนมแม่นานถึง2ปี
เจอกันห้ามหญิงหลังคลอดอดบริโภคน้ำดิบ
ขนบธรรมเนียมประเพณี
ที่ไม่ได้ให้ประโยชน์
เช่น ห้ามหญิงมีครรภ์กินกล้วยแฝด
ที่จริงกินได้มันเป็นความเชื่อของบุคคล
ขนบธรรมเนียมประเพณี
ที่ไม่แน่ใจว่าให้คุณ
หรือโทษ
เช่น สังคมแอฟริกันบางสังคมให้เด็กกินดินหรือโคลน
ขนบธรรมเนียมประเพณี
ที่ให้โทษ
การรับประทานอาหารสุกๆดิบๆ
เป็นสาเหตุโรคพยาธิโรคอุจจาระร่วง
แนวทางการดูแลสุขภาพที่เกิดขึ้น
เป็นวัฒนธรรมของการดูแลสุขภาพของประชาชน
ระบบการดูแลสุขภาพภาควิชาชีพ
(Professional health sector)
การปฎิบัติการรักษาพยาบาลทางการแพทย์
มีการจัดองค์กรที่เป็นทางการ
ระบบการดูแลสุขภาพภาคพื้นบ้าน
(Folk sector of care)
การดูแลแบบทางเลือกเป็นการปฎิบัติการรักษา ที่ไม่ใช่รูปแบบของวิชาชีพไม่มีการจัดองค์กร ใช้อำนาจเหนือธรรมชาติ เช่นไสยศาสตร์
และประเภทที่ไม่ใช่อำนาจเหนือธรรมชาติ เช่นสมุนไพร
ระบบการดูแลสุขภาพภาคประชาชน
(Popular health sector)
การมี อสม. มาดูแลเมื่อผู้ป่วยกลับจากโรงพยาบาล
แล้วมารักษาตนเองที่บ้านต่อ