Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินสัญญาณชีพ - Coggle Diagram
การประเมินสัญญาณชีพ
สัญญาณชีพ
แสดงถึงการมีชีวิต
ข้อบ่งชี้ในการวัดสัญญาณชีพ
Admit
Routine and Order
Pre-Post OP.
การเปลี่ยนแปลงของร่างกาย
ก่อนและหลังการให้การพยาบาล
ค่าปกติของสัญญาณชีพ
อุณหภูมิ : 36.5-37.5 องศาเซลเซียส
ชีพจร : 60-100 ครั้ง/นาที
หายใจ : 12-20 ครั้ง/นาที
Systolic : 90-140 mmHg
Diastolic : 60-90 mmHg
อุณหภูมิของร่างกาย
ระดับความร้อนของร่างกาย
เกิดจากความสมดุลของการสร้างความร้อนในร่างกายและสูญเสียจากร่างกาย
แบ่งเป็น 2 ชนิด
ส่วนแกนกลาง (Core temperature)
ผิวนอก (Surface temperature)
การระบายความร้อนออกจากร่างกาย
กลไกของร่างกาย (Physiological mechanisms)
การนำความร้อน (Conduction) : ร่างกายต้องสัมผัสโดยตรงกับสิ่งที่เย็นกว่า เช่น การดื่มน้ำ
การพาความร้อน (Convection) : ต้องอาศัยตัวกลาง เช่น การเช็ดตัวขณะมีไข้
การแผ่รังสี (Radiation) : การส่งผ่านความร้อน โดยไม่มีการสัมผัส
การระเหยเป็นไอ (Evaporation) : จากผิวของร่างกายเป็นไอ
กลไกลของการเกิดพฤติกรรม (Behavioral mechanism)
การลดกิจกรรมต่างๆ
การเคลื่อยย้ายไปอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เย็น
ปัจจัยที่มีผลต่ออุณหภูมิของร่างกาย
ความผันแปรในรอบวัน
เช้าบ่ายจะจะสูง
นอนหลับต่ำสุด
อายุ
เด็กและคนแก่จะเปลี่ยนง่าย
การออกกำลังกาย
ความร้อนสะสมมากทำให้อุณหภูมิสูงขึ้น
อารมณ์
ความเครียดทำให้ผลิตความร้อนเพิ่มขึ้น
ฮอร์โมน
เพศหญิงจะสูงกว่าเพศชาย เพราะมีการตกไข่
ภาวะโภชนาการและชนิดของอาหารที่รับประทาน
การติดเชื้อในร่างกาย
การประเมินอุณหภูมิของร่างกาย
ทางปาก (Oral temperature)
นิยมที่สุด
ข้อห้ามในการวัดทางปาก
ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว ลมชัก เกร็ง
โรคในช่องปาก
ผ่าตัดบริเวณจมูกหรือปาก
ผู้ป่วยที่ให้ออกซิเจนทางหน้ากาก
บุคคลที่ดื่มน้ำหรือของเหลวที่ร้อนหรือเย็น ต้องรอประมาณ 15-30 นาที
สูบบุหรี่ เคี้ยวหมากฝรั่ง
ทางรักแร้ (Axillary temperature)
ใช้กับกรณีวัดทางปากและทวารไม่ได้
อุณหภูมิจะต่ำกว่าประมาณ 0.5-1 องศาเซลเซียส
ข้อดี
วัดได้ทุกช่วงวัย
ปลอดภัยและแพร่จุลินทรีย์น้อย
รบกวนจิตใจน้อยกว่าทางทวารหนัก
ข้อเสีย
ใช้เวลานาน 5 นาทีขึ้นไป
หากทำความสะอาดรักแร้หรืออาบน้ำ ต้องวัดหลัง 15-30 นาที
ห้ามวัดกับผู้ที่ระบบไหลเวียนไม่ดี หรือผอมมากๆ
ทางทวารหนัก (Rectal temperature)
ไม่สามารถใช้กับเด็กต่ำกว่า 3 ปีและผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว
ต้องทาด้วยวาสลิน
ทิ้งไว้นาน 1-2 นาที
อุณหภูมิที่ได้จะสูงกว่าทางปาก 0.5-1 องศาเซลเซียส
ข้อห้ามในการวัด
ห้ามใช้กับเด็กเล็ก ทารก ที่ท้องเสียหรือมีรอยโรคที่ทวารหนัก
ได้รับการผ่าตัดที่ทวารหนัก
โรคหัวใจหรือหลังจากผ่าตัดหัวใจ
มีเกล็ดเลือดต่ำ
อุจจาระแข็งค้างแน่น
ใช้เทอร์โมมิเตอร์แบบอิเล็กทรอนิกส์
(Electronic temperature)
วัดทางหู
อุณหภูมิแกนกลางของร่างกาย
อ่านค่ารวดเร็วภายใน 2-5 วินาที
ห้ามใช้กับผู้ป่วยแก้วหูทะลุหรือรอยแผลที่แก้วหู
ห้ามใช้ในกรณีที่มีขี้หูหรือมีหูน้ำหนวก
วัดทางผิวหนัง
หน้าผาก หลังใบหู ซอกคอ
วัตถุประสงค์
ตรวจอุณหภูมิของร่างกาย
ตรวจสอบการมีทวารหนักในเด็กทารก
วิธีการประเมินอุณหภูมิของร่างกาย
1.ล้างมือให้สะอาด
2.บอกให้ผู้ป่วยทราบ
3.ตรวจสอบการทำงานของปรอท
4.จัดท่าผู้ป่วย
5.วัดอุณหภูมิร่างกาย
6.เอาเทอร์โมมิเตอร์ออก เช็ดจากบนลงปลายด้วยวิธีหมุน
7.อ่านค่าที่ได้
8.บันทึก
9.นำอุปกรณ์ไปล้างให้สะอาดและเก็บเข้าที่
ข้อควรระวังในการวัด
ไม่ควรวัดอุณหภูมิทางปากหลังดื่มน้ำเย็นหรือร้อน
ต้องรออย่างน้อย 15 นาที
ห้ามนำที่วัดจากปากไปใช้ทวารหนักหรือนำจากทวารหนักไปปาก
ทางทวารหนักให้ทาวาสลิน
ควรแยกภาชนะใส่และแยกทำความสะอาด
เช็ดรักแร้ให้แห้งและหุบรักแร้ให้แน่น
สลัดให้ต่ำกว่า 35 องศาเซลเซียสก่อนวัดทุกครั้ง
ห้ามนำไปวางนอกภาชนะที่ใส่
เช็ดด้วยสำลีทันทีเมื่อออกจากผู้ป่วย
หากได้ค่าสูงหรือต่ำกว่าปกติให้วัดซ้ำ
ภาวะอุณหภูมิร่างกายผิดปกติและ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอุณหภูมิผิดปกติ
สูงกว่าปกติ (Hyperthermia)
เพิ่มสูงขึ้นมากกว่า 37.5 องศาเซลเซียส “ภาวะไข้”
3 ระยะ
ระยะหนาวสั่น
พยายามที่จะเพิ่มอุณหภูมิให้สูงขึ้น
ชีพจรและหายใจเพิ่มขึ้น
หนาวสั่น ซีด
ระยะไข้
ร่างกายมีอุณหภูมิสูงขึ้น
หน้าแดง ผิวหนังอุ่น
สูงมากๆเด็กอาจชักได้
ระยะสิ้นสุดไข้
พยายามลดอุณหภูมิภายในร่างกาย
ผิวหนังแดงและอุ่น
เหงื่อออกและหนาวสั่นลดลง
การลูบตัวลดไข้
การลูบด้วยน้ำธรรมดา (Tepid sponge)
ประมาณ 30 องศาเซลเซียส
การลูบด้วยน้ำเย็นจัด (Cold sponge)
ใช้กับผู้ป่วยร่างกายสูงมากๆ ต้องให้ไข้ลดลงเร็ว
การลูบตัวด้วยน้ำอุ่น (Warm sponge)
เพื่อลดไข้ที่สูง 40 องศาเซลเซียส
การเช็ดตัวด้วยแอลกอฮอล์ (Alcohol sponge)
บางรายสูงจนเกิดอาการชัก เพื่อให้ไข้ลดลงอย่างรวดเร็วจึงใช้แอลกอฮอล์ 25% เช็ดตัว
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอุณหภูมิร่างกายสูงกว่าปกติ
ดูแลให้ผู้ป่วยผักผ่อน
จัดสภาพแวดล้อมให้อากาศถ่ายเทได้สะดวก
ดูแลเช็ดตัวลดไข้ (Tepid sponge bath)
รับยาลดไข้ตามแผนการรักษาของแพทย์
วัดอุณหภูมิภายหลังเช็ดตัวและกินยาลดไข้ 30 นาที
รับยาปฏิชีวนะตามแพทย์สั่ง
รับออกซิเจนตามแผนการรักษา
ให้ได้รับความอบอุ่นในระบะที่มีอาการหนาวสั่น
ทานอาหารที่มีโปรตีนและคาร์โบไฮเดรตสูง อาหารอ่อน
ดื่มน้ำมากๆในรายที่ไม่มีข้อห้าม
บันทึก I/O เพื่อความสมดุลของสารน้ำในร่างกาย
ดูแลช่องปากให้สะอาดและชุ่มชื่น
เตรียมเสื้อผ้าที่ระบายความร้อนได้ดีให้ผู้ป่วย
ติดตามการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิร่างกาย
ต่ำกว่าปกติ (Hypothermia)
อุณหภูมิต่ำกว่า 36 องศาเซลเซียส
มีอาการหนาวสั่นร่วม
การผลิตความร้อนไม่สมดุล
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอุณหภูมิร่างกายต่ำกว่าปกติ
จัดสิ่งแวดล้อมให้อบอุ่น
เพิ่มความหนาของผ้าห่ม
วางกระเป๋าน้ำร้อนหรือผ้าห่มไฟฟ้า
คลุกหรือโพกหัว
ดื่มน้ำหรือเครื่องดื่มอุ่นๆ
ถูหรือนวดผิวหนัง
เด็กอาจจะใช้การโอบกอด
ให้ความมั่นใจโดยการอยู่กับผู้ป่วย
ค้นหาสาเหตุของอาการหนาวสั่น
ชีพจร
หากใช้มือกดเส้นเลือดไว้จะรู้สึกการเต้นเป็นจังหวะ : Pulsation
จังหวะการเต้นของเส้นเลือดจะสัมพันธ์กับหัวใจโดยตรง
ปัจจัยที่มีผลต่อการเต้นของชีพจร
เพศ
หญิงจะเร็วกว่าชายเล็กน้อย
อายุ
อายุเพิ่มขึ้นชีพจรเต้นลดลง
การออกกำลังกาย
เพิ่มการเต้นของหัวใจเพื่อนำออกซิเจนไปกับ
กระแสเลือดเพิ่มขึ้น
ภาวะไข้
ชีพจรเพิ่มขึ้น
ยาบางชนิด
ลดอัตราการเต้นของชีพจร
อารมณ์
ท่าทาง
ท่านอนชีพจรจะช้าลง
ภาวะเสียเลือด
ชีพจรเบา เร็วเป็นอาการช็อก
การประเมินชีพจร
คลำตามตำแหน่งเส้นเลือดแดงที่ผ่าน
Temporal pulse : เหนือและข้างตา
Carotid pulse : ด้านข้างของคอ
Brachial pulse : ด้านในของ Bicep
Radial pulse : ข้อมือ
Femoral pulse : ขาหนีบตรงกลางๆ
Popliteal pulse : ตรงกลางข้อพับเข่า
Dorsalis pedis pulse : กลางหลังเท้า
Apical pulse : หน้าอกด้านซ้าย
Posterior tibial pulse : หลังปุ่มกระดูกข้อเท้า
อุปกรณ์
นาฬิกา
ปากกาน้ำเงิน tem และแดง Pulse
กระดาษจด
วิธีการปฏิบัติ
1.ล้างมือให้สะอาด
2.บอกให้ผู้ป่วยทราบและขออนุญาตจับ
3.วางปลายนิ้วชี้ นิ้วกลาง นิ้วนาง กดที่หลอดเลือดแดง
4.จับเวลา 1 นาที : อัตราการเต้นสม่ำเสมอและปริมาตรความแรง
5.นับอัตราการเต้น โดยเด็กใช้วิธีฟังเสียงเต้นของหัวใจแทน
6.บันทึกลงกระดาษ
7.ล้างมือให้สะอาด
ข้อควรจำในการวัดชีพจร
ไม่ควรใช้นิ้วหัวแม่มือ
วัดหลังทำกิจกรรม 5-10 นาที
ไม่ควรพูดขณะวัด
ลักษณะชีพจรที่ผิดปกติ
อัตรา (Rate) : ปกติ 60-100 ครั้งต่อนาที
มากกว่า 100 ครั้งต่อนาที “Tachycardia”
น้อยกว่า 60 ครั้งต่อนาที “Bradycardia”
จังหวะ (Rhythm)
ชีพจรปกติ เต้นสม่ำเสมอ “Pulse regularis”
ชีพจรผิดปกติ
Arrhythmia : ไม่สม่ำเสมอสลับกับสม่ำเสมอ
Apical pulse : ไม่สม่ำเสมอ
ตรวจหา EKG
ปริมาตรความแรง (Volume)
กดนิ้วลงตรงบริเวณหลอดเลือดแดง
วัดเป็นระดับ
0 : ไม่มีชีพจร
1 : Thready แผ่วเบา
2 : Weak ค่อนข้างเบา
3 : Regular จังหวะสม่ำเสมอ
4 : Bounding pulse เต้นแรง
ต้องบอกเป็นเลขคู่
ความยืดหยุ่นของผนังของหลอดเลือด
การหายใจ
การหายใจ
External respiration : ระหว่างปอดกับอากาศภายนอก
Internal respiration : คาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดและเซลล์ภายในร่างกาย
ปัจจัยที่มีผลต่อการหายใจ
การเปลี่ยนแปลงของอารมณ์ สภาพแวดล้อม ความเจ็บป่วย
การประเมินการหายใจ
นับอัตราการหายใจเข้า ออก ต่อ 1 นาที
วิธีการปฏิบัติ
1.ล้างมือให้สะอาด
2.บอกผู้ป่วยทราบ
3.เริ่มนับหลังคลำชีพจรเสร็จเสมือนกำลังนับชีพจร
4.นับอัตราการหายใจ ความลึก จังหวะ ลักษณะ
5.ประเมินหายใจเต็ม 1 นาที
6.บันทึก
7.ล้างมือให้สะอาด
ลักษณะการหายใจที่ผิดปกติ
อัตราเร็วของการหายใจ
หายใจปกติ : 12-20 ครั้งต่อนาที
Tachypnea : มากกว่า 24 ครั้งต่อนาที
Bradypnea : น้อยกว่า 10 ครั้งต่อนาที
Apnea : หยุดหายใจ
ความลึกของการหายใจที่ผิดปกติ
Hypoventilation : ช้าและตื้น
Hyperventilation : เร็วและลึก
จังหวะของการหายใจ
Cheyne stokes : ไม่สม่ำเสมอ
Biot : ปกติสลับเร็วลึก
Eupnea ลักษณะของการหายใจปกติ
Dyspnea : หายใจลำบาก
Orthopnea : หายใจลำบากในท่านอนราบ
Paroxysmal nocturnal dyspnea : หายใจลำบากตอนกลางคืน
Paroxysmal dyspnea : หอบรุนแรง
Air hunger : หายใจทั้งจมูกและปากอย่างรุนแรง ระยะสุดท้ายของชีวิต
ลักษณะเสียงหายใจผิดปกติ
Stridor : เสียงฟืด มีการอุดกั้นของหลอดลมใหญ่
Wheeze : เสียงวี๊ดในขณะหายใจออก หลอดลมตีบแคบ
สีผิวหนังที่ผิดปกติ
Cyanosis : สีม่วงคล้ำ เพราะขาดออกซิเจน
ความดันโลหิต
ค่าความดันโลหิตที่ใช้วัด
Systolic pressure
หดรัดตัวของหัวใจห้องล่างซ้าย
Diastolic pressure
หัวใจห้องล่างซ้ายคลายตัว
ความแตกต่าง “Pulse pressure”
30-50 mmHg
ปัจจัย
อายุ
ผู้สูงอายุความดันโลหิตจะสูงขึ้น
อิริยาบถขณะวัดความดันโลหิตและการออกกำลังกาย
ความเครียดและการเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์
ความตื่นเต้น ความกลัว
ลักษณะของร่างกายและปัจจัยอื่นๆ
รูปร่าง : คนอ้วนจะสูงกว่าคนผอม
เพศ : เพศชายจะสูงกว่าเพศหญิง
ยา
การประเมินความดันโลหิต
ทางตรง (C.V.P)
ใส่สายสวนเข้าไปใน Superior vena cava
ทางอ้อม
วิธีฟังและคลำ โดยใช้เครื่องมือ Stethoscope และ Sphygmomanometer
ขั้นตอนในการปฏิบัติ
1.แจ้งให้ผู้ป่วยทราบ
2.จัดท่าให้นอนเหยียดข้างที่จัดวัด ให้หงายมือขึ้น
3.วางเครื่องวัดในระดับเดียวกับหัวใจผู้ป่วย ตรงระดับสายตาเรา
4.ไล่ลมออกจากผ้าพันแขนให้หมด
5.คลำชีพจร
6.พันผ้าพันรอบแขนเหนือข้อพับขึ้นไป1นิ้ว
7.เหน็บปลายผ้าให้เรียบร้อย
8.ใส่หูฟังและวางแป้นของหูฟังตรงตำแหน่งชีพจรที่คลำได้
9.บีบลูกยาง
10.ค่อยๆคลายเกลียวลูกยาง ตั้งใจฟังเสียงตุบๆ Systolic pressure
11.ค่อยๆปล่อยลมออกจากลูกยางช้าๆ “Korotkoff’s sound เป็น Diastolic pressure
12.ปล่อยลมออกจากผ้าพันแขนให้หมด
13.ทำความสะอาดหูฟัง
14.ล้างมือให้สะอาดและบันทึกผล
ลักษณะความดันโลหิตที่ผิดปกติ
Hypertension
ความดันโลหิตสูง 140/90 mmHg
ปวดหัวบริเวณท้ายทอย
Hypotension
ความดันโลหิตต่ำ 90/60 mmHg
อ่อนเพลีย
Orthostatic hypotension
ความดันโลหิตตกในท่ายืน
แนะนำให้มีการเปลี่ยนท่าทาง ช้าพอประมาณ
กระบวนการพยาบาลในการประเมินสัญญาณชีพ
การประเมินสภาพ
ซักประวัติ
ตรวจร่างกาย
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ข้อวินิจฉันทางการพยาบาล
ไม่สบาย อุณหภูมิสูง
ภาวะติดเชื้อในร่างกาย
การวางแผนการพยาบาล
การปฏิบัติการพยาบาล
ประเมินสัญญาณชีพ
เช็ดตัวลดไข้
ดูแลให้ได้รับน้ำอย่างเพียงพอ
จัดสิ่งแวดล้อมให้เงียบสงบและอาการถ่ายเทสะดวก
ให้ยาลดไข้ ดูแลให้ยาปฏิชีวนะ
ติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การประเมินผลสัญญาณชีพ
ไม่มีภาวะแทรกซ้อน สดชื่นดี