Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาที่ใช้ในระบบประสาทอัตโนมัติ - Coggle Diagram
ยาที่ใช้ในระบบประสาทอัตโนมัติ
การทำงานของระบบประสาทอัตโนมัติ
ระบบประสาทซิมพาเทติก
(Sympathetic nervou system)
ทำให้หัวใจเต้นเร็ว
หลอดลมขยาย
ต่อสู้หรือถอยหนี(Fight or Fight)
ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก
(Parasympathetic nervous system)
ลดอัตราการเต้นของหัวใจ
เพิ่มการหลั่งกรดและน้ำย่อย
เพื่อให้พักผ่อนหรือย่อยอาหาร(Rest or Digest)
สารสื่อประสาท(neurotranmitter)
และตัวรับ(Receptor)
ในระบบประสาทอัตโนมัติ
สารสื่อประสาทในระบบประสาทพาราซิมพาเทติก เรียกว่า Cholinergic agent
Acetylcholine(ACh)
จับกับตัวรับเฉพาะที่
เรียกว่า Cholinergic receptor
Muscarinic(M)
Nicotine receptor(N)
สารสื่อระบบประสาทในระบบโซมาติก
สารสื่อประสาทในระบบประสาทซิมพาเทติก
เรียกว่า Adrenergic agent
จับกับตัวรับเฉพาะที่
เรียกว่า Adrenergic receptor
Alpha
Beta
Noradrenalin
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทอัตโนมัติ
ยาโคลิเนอร์จิก(Cholinergic Drug)
Cholinergic agonist
กลไลการออกฤทธิ์ ออกฤทธิ์กระตุ้น
ที่ Muscarine และ Nicotinic receptor
การนำไปใช้ทางคลินิค
ใช้รักษาต้อหิน
ใช้รักษาอาการท้องอืด ไม่ถ่าย
ใช้รักษาระบบทางเดินปัสสาวะ
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ระบบทางเดินปัสสาวะ
เพิ่มความดันกระเพาะปัสสาวะ
เพิ่มการบีบตัวของท่อปัสสาวะ
ทำให้กล้ามเนื้อกระเพาะปัสสาวะหดตัว
ระบบทางเดินอาหาร
กระตุ้นกล้ามเนื้อทางเดินอาหารบีบตัว
เพิ่มการหลั่งสารคัดหลั่ง
ระบบหายใจ
หลั่งสารคัดหลั่งมากขึ้น
ทำให้กล้ามเนื้อเรียบหลอดลมหดตัว
ฤทธิ์ต่อตา ทำให้ม่านตาหรี่
ระบบไหลเวียนเลือด
ทำให้ลอดเลือดขยายตัว
ลดการเต้นของหัวใจ
ทำให้ลดความต้านทานหลอดเลือดส่วนปลาย
ระบบประสาทส่วนปลาย
สารมีฤทธิ์กระตุ้นสมองส่วน cortex
การเคลื่อนไหว
ความอยากอาหาร
การรับรู้
ความปวด
อาการข้างเคียงและความเป็นพิษ
ชนิดเม็ด
น้ำลาย น้ำมูก น้ำตาไหล เหงื่อออก
ปวดปัสสาวะ
ปวดมวนท้อง
แบบหยอด
ตามัว
ระคายเคือง คันตา
ข้อห้ามใช้
โรคแผลในกระเพาะอาหารและลำไส้ ยากระตุ้นการหลั่งกรดและน้ำย่อยมากขึ้น
ผู้ป่วยลำไส้อุดตัน นิ่วทางเดินอาหาร มีการกระตุ้นการบีบตัวก่อให้เกิดอันตราย
ผู้เป็นโรคหอบหืดหรือโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง จะทำให้หลอดลมหดตัว
Anticholinesterase agent
(Cholinesterase inhibitors)
กลไกการออกฤทธิ์
การจับกับเอนไซม์ถ้าเป็นชั่วคราว จัดอยู่ในกลุ่ม "reversible"
จับกับเอนไซม์ถาวร เรียกกลุ่ม "irreversible"
ออกฤทธิ์ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์Anticholinesterase(AChE) หรือCholinesterase(ChE)
การนำไปใช้ทางคลินิก
ใช้ในการรักษาโรค Myasthenia gravis(MS)
ใช้ในการยุติฤทธิ์ของยาคลายกล้ามเนื้อกลุ่มที่เป็น competitive antagonist
ใช้ในการรักษาอาการลำไส้
รักษา Alzheimer's disease
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ผลต่อ muscarinic receptor
ทางเดินปัสสาวะ
ทางเดินหายใจ ตา
กล้ามเนื้อเรียบ
ผลต่อ nicotinic receptor
การบีบตัวของใยกล้ามเนื้อ
ทำให้กล้ามเนื้อมีอาการสั่นพริ้ว
กล้ามเนื้อลาย
อาการข้างเคียงและความเป็นพิษ
ความดันโลหิตต่ำ หน้ามืด เหงื่อออกมาก
น้ำลายมาก มีสารคัดหลั่งในทางเดินหายใจมาก
รูม่านตาเล็ก หายใจลำบาก หัวใจเต้นช้า
ยาต้านมัสคารินิค(Antimuscarinic Drugs)
กลไกการออกฤทธิ์
ออกฤทธิ์แย่งที่กับ Ach ในการจับ muscarinic antagonists แบบเเข่งขัน
ทำให้ยามีผลลด parasympathetic tone ในร่างกาย
Atropine เป็น muscarinic antagonists
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ระบบทางเดินอาหาร
ลดการบีบตัวของหลอดอาหารจนถึงลำไส้ใหญ่
ลดทั้งความแรงและลดการขับเคลื่อนของกระเพาะอาหารและลำไส้
ระบบทางเดินหายใจ
ยับยั้งการหลั่งของสารคัดหลั่งที่จมูก ปาก คอและหลอดลม
สามารถลดหดเกร็งของหลอดลมจากสารต่างๆในร่างกาย
ระบบตา
ม่านตาขยาย
ความดันในลูกตาสูง
กล้ามเนื้อเรียบอื่นๆ ลดความตึงตัวและความแรง
ในการบีบตัวของท่อปัสสาวะและกระเพาะปัสสาวะ
ต่อมเหงื่อ ทำให้ร่างกายขับเหงื่อได้น้อยลง
ไม่สามารถระบายความร้อนทางเหงื่อได้
อุณหภูมิของร่างกายจุงสูงเกิดไข้ เรียกว่า Atropine fever
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
หัวใจเต้นเร็ว
หลอดเลือดขยาย
บริเวณผิวหนังร้อนหรือแดง รู้สึกวูบวาบตามตัว เรียกว่า Atropine flush
การนำไปใช้ทางคลินิก
รักษาภาวะกระเพาะปัสสาวะบีบตัวไวมากเกินไป
ทำให้รูม่านตาขยาย
ลดหดเกร็งของกล้ามเนื้อเรียบ
ใช้เป็นยาขยายหลอดลม
รักษาโรคแผลในกระเพาะอาหารและลำไส้
ยากระตุ้นระบบประสาทซิมพาเทติก
(Adrenergic drugs)
กลุ่ม Catecholamines
Epinephrine(Adrenaline)
กลไกการออกฤทธิ์
ให้โดยรับประทานไม่ได้
receptor ถูกทำลายอย่างรวดเร็วโดย MAO และ COMT
เป็นสาร agonist ออกฤทธิ์กระตุ้นทั้ง Alpha และ Beta
การนำไปใช้ทางคลินิก
ภาวะแอนาฟิแล็กซิส(anaphylaxis)
ใช้เพื่อห้ามเลือด
ภาวะหัวใจหยุดเต้น(cardiac arrest)
ใช้ผสมยาชาเฉพาะที่
Norepinephrine/Noradrenalin
(Levophed)
ออกฤทธิ์เช่นเดียวกับEpinephrine แต่มีความชอบต่อ Alpha receptor สูงกว่า
ประโยชน์ทางคลินิก รักษาความดันโลหิตต่ำรุนแรง
Dopamine; DA
(Dopamine, Dopmin, Intropin)
เมื่อให้ยาต่างขนาดกัน
DA ขนาดปานกลาง กระตุ้น Beta1 receptor เพิ่มแรงบีบตัวของหัวใจ
DA ในขนาดสูง กระตุ้น Alpha1 receptor ทำให้เกิดลอดเลือดขยายตัว
DA ในขนาดต่ำ กระตุ้น D1-receptor ทำให้เกิด vasodilation ของหลอดเลือดในไต
Dopamine เป็น Neurotransmitter ในสมอง
Dobutamine
ออกฤทธิ์กระตุ้น Beta1 receptor ฤทธิ์ต่อ Alpha receptor มีน้อย
เป็นยากระตุ้นการบีบตัวของหัวใจ
เป็นสารสังเคราะห์ มีโครงสร้าง DA มีฤทธิ์ Alpha1 และ Beta agonist
อาการข้างเคียงและความเป็นพิษ
ระบบไหลเวียน หัวใจเต้นผิดจังหวะ ปอดบวมน้ำ
Tissue necrosis
ระบบประสาท วิตกกังวล ปวดศีรษะ
Alpha-adrenergic agonit
Alpha-1 agonist
Phenylephrine
ทำให้กล้ามเนื้อเรียบของหลอดเลือดหดตัว
เพิ่มแรงต้านในหลอดเลือดและเพิ่มความดันโลหิต
เป็นยาออกฤทธิ์จำเพาะต่อ Alpha1 receptor
Midodrine
เป็นยาออกฤทธิ์จำเพาะต่อ Alpha1 receptor ทำให้หลอดเลือดหด
ความดันโลหิตเพิ่ม ออกฤทธิ์นาน 3-4 ชั่วโมง
Alpha-2 agonist
Clonidine
ประโยชน์ทางคลินิก
รักษาความดันโลหิตสูง
รักษาอาการขาดเหล้า หรืออาการถอนพิษสุรา
เป็นยาที่เลือกใช้ในสตรีมีครรภ์
ผลข้างเคียง
ง่วง ซึมเศร้า ปากแห้ง ท้องผูก เบื่ออาหาร
อาจเกิดอาการถอนยา คือถ้าหยุดยาวเร็ว
อาจทำให้เกิดความดันโลหิตสูงเฉียบพลัน
กลไกการออกฤทธิ์
สามารถผ่านสมองใช้เป็นยาลดความดันโลหิต
ออกฤทธิ์กระตุ้นที่สมองและหลอดเลือด
มีชนิดรับประทานและแผ่นแปะผิวหนัง
ฺBeta-adrenergic agonist
ฺBeta2-adrenergic agonist
ยาขยายหลอดลมชนิดออกฤทธิ์สั้น
terbutaline ใช้เวลา 1 ชั่วโมง
Salbutamol ออกฤทธิ์ได้เร็วภายใน 15 นาที
ยาขยายหลอดลมชนิดออกฤทธิ์ยาว
Salmeterol and formoterol เป็นยาที่มีระยะเวลา
การออกฤทธิ์ยาว นนกว่า 12 ชั่วโมง
อาการข้างเคียงและความเป็นพิษ
อาการกระวนกระวาย วิตกกังวล
หัวใจเต้นเร็ว
อาการสั่น ใจสั้น
Beta4-adrenergic agonist
กล้ามเนื้อกระเพาะปัสสาวะคลายตัว
รักษาอาการกลั้นปัสสาวะไม่ได้
Indirect-acting and mixed-type
adrenergic agonist
Amphetamine
เป็นยาเสพติดให้โทษประเภทที่ 1
ออกฤทธิ์กระตุ้นประสาทส่วนกลางที่มีความรุนแรง
อาการข้างเคียง
นอนไม่หลับ กระสับกระส่าย
ก้าวร้าว ประสาทหลอน
วิตกกังวล หวาดระแวง
Ephedrine and pseudoephedrine
Ephedrine ไม่ได้ใช้ทางคลินิกแล้ว
pseudoephedrine เป็นยาที่ออกฤทธิ์ต่อ
จิตประสาทมีใช้อย่างจำกัดในโรงพยาบาล
เป็นยาลดน้ำมูกและคัดจมูก
อาการข้างเคียงมีมากในผู้ป่วยโรคหัวใจ
คือ ความดันโลหิตสูง นอนไม่หลับ
ยาปิดกั้นอะดรีเนอร์จิครีเซพเตอร์
(Adrenoceptor blocking drugs)
Alpha-adrenergic antagonist
(Alpha-blocker)
ออกฤทธิ์จำเพาะที่อยู่ภายในเซลล์ของกล้ามเนื้อเรียบ
ทำให้เกิดการคลายตัวของกล้ามเนื้อเรียบ
ยาที่ใช้ในปัจจุบัน คือ selective alpha1-antagonist
อาการข้างเคียงและความเป็นพิษ ทำให้ความดันโลหิตต่ำ
Beta-adrenergic antagonist
(Beta-blocker)
Non-selective beta-blocker
ลดอาการใจสั่น
ลดอาการตื่นเต้น
ใช้รักษาความดันโลหิตสูง
รักษาหัวใจเต้นผิดจังหวะ
Selective beta-blocker
ลดความเสี่ยงต่อภาวะหัวใจล้มเหลว
ป้องกันไมเกรน
รักษาโรคความดันโลหิตสูง
รักษาผู้ป่วยที่ต่อมไทรอยด์ทำงานมากกว่าปกติ
อาการข้างเคียงและความเป็นพิษ
วิงเวียน ปวดศีรษะ นอนไม่หลับ เหนื่อยล้า
ทำให้ลอดลมตีบแคบ
หัวใจเต้นช้า
ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ