Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การรักษาโรคเบื้องต้นในกลุ่มอาการที่พบบ่อย(ต่อ), นางสาวทิพย์สุดา สนิทพจน์ …
การรักษาโรคเบื้องต้นในกลุ่มอาการที่พบบ่อย(ต่อ)
ภาวะเลือดออกในทางเดินอาหาร (Gastrointestinal Hemorrhage)
แบ่งเป็น 2 ชนิด
เลือดออกในทางเดินอาหารส่วนบน Upper gastrointestinal hemorrhage (UGIH)
สาเหตุ
Peptic ulcer disease - 50%
Varices – 10-20%
Gastritis – 10-25%
Mallory-weiss – 8-10%
Esophagitis – 3-5%
Malignancy – 3%
Hematemesis : หมายถึงการอาเจียนออกมาเป็นเลือด
Coffee ground: เป็นลักษณะเลือดออกในทางเดินอาหารส่วนต้นที่ผสมกับกรดและสารคัดหลั่งในกระเพาะอาหาร
Melena: เป็นลักษณะของacid hematin ที่เกิดจาก ฮีโมโกลบินของเม็ดเลือดแดง รวมกับกรดในกระเพาะอาหาร(Hb+acid= acid hematin) มีกลิ่นเฉพาะ และลักษณะเหนียวคล้ายยางมะตอย
เลือดออกในทางเดินอาหารส่วนล่าง Lower gastrointestinal hemorrhage( LGIH)
Hematochezia: หมายถึงภาวะเลือดออกทางทวารหนักมีลักษณะเป็นเลือดสด, ลิ่มเลือด
ต่ำแหน่งที่พบ
Colon – 95-97%
Small bowel – 3-5%
Only 15% of massive GI bleeding
จำนวนที่พบ
Intermittent bleeding common
Up to 42% have multiple sites
สาเหตุ
Diverticulosis – 40-55%
Angiodysplasia – 3-20%
Neoplasia
Inflammatory conditions
Vascular
Hemorrhoids
ถ่ายเป็นเลือด(hematochezia)
ริดสีดวงทวาร (hemorrhoids)
สาเหตุ
ยังไม่ทราบแน่ชัด คาดว่าเกิดจากมีแรงดันในช่องท้องสูง
ปัจจัยทางพันธุกรรม
อาชีพ ผู้มีอาชีพที่ต้องยืนนานๆ จะมีผลให้ความดันเลือดในหลอดเลือดดำบริเวณปากทวารไหลกลับสู่หลอดเลือดดำในช่องท้องช้าลง
เกิดจากโรคแทรกซ้อนของโรคอื่นๆ
ชนิด
ริดสีดวงทวารหนัก ภายนอก (external hemorrhoids)
ริดสีดวงทวารหนัก ภายใน (internal hemorrhoids)
ระยะ
ระยะที่ 2 - อาการมากขึ้น หัวริดสีดวงทวารโตมากขึ้น เริ่มโผล่ออกมาพ้นทวารหนักแล้วพอควร เวลาเบ่งอุจจาระก็จะออกมาให้เห็นมากขึ้น แต่เวลาถ่ายอุจจาระเสร็จแล้วก็จะหดกลับเข้าไปภายในทวารหนักได้เอง
ระยะที่ 3 - เวลาถ่ายอุจจาระหัวริดสีดวงทวารจะโผล่ออกมามากกว่าแต่ก่อน แล้วก็กลับเข้าที่เดิมไม่ได้ ต้องเอานิ้วมือดันเข้าไป
ระยะที่ 1 - มีเส้นเลือดดำโป่งพองในทวารหนัก เวลาเบ่งถ่ายอุจจาระก็จะปรากฏว่ามีเลือดไหลออกมาด้วย
ระยะที่ 4 - ริดสีดวงโตมากขึ้นแล้วมองเห็นได้จากภายนอกอย่างชัดเจน เกิดอาการบวม อักเสบ มีเลือดออกมาเสมอ อาจมีน้ำเหลือง เมือกลื่น และอุจจาระตามออกมา
การวินิจฉัย
ส่วนมากจะมีเลือดสดออกทางทวารหนักระหว่างที่ถ่ายอุจจาระ
อาจจะมีอาการเจ็บทวารหนักหรือไม่ก็ได้
อาจคลำพบก้อนเนื้อที่เป็นหัวริดสีดวงบริเวณปากทวารหนัก
แนวทางการรักษาพยาบาล
ถ้าท้องผูก (ภูมิปัญญาท้องถิ่น) หรือให้ยาระบาย
ถ้าปวดมากเนื่องจากมีการอักเสบ ให้กินยาแก้ปวด นั่งแช่ในน้ำอุ่นจัดๆผสมด่างทับทิม
ระวังอย่าให้ท้องผูก
ถ้าผู้ป่วยมีอาการซีด หรือให้ยาบำรุงเลือดเสริมธาตุเหล็ก
ถ้าเป็นมากอาจพิจารณารักษาด้วยวิธีต่อไปนี้
วิธีใช้ยางรัด (ligation) ทำให้หัวริดสีดวงฝ่อ
ใช้การจี้ด้วยแสงเลเซอร์ ความเย็น คลื่นความร้อนหรือไฟฟ้า คลื่นอินฟราเรด
การฉีดยาเข้าที่หัวริดสีดวงให้ฝ่อไป(sclerotherapy)
รักษาโดยการผ่าตัด (hemorrhoidectomy)
แผลแยกที่รูทวารหนัก (Anal fissure)
สาเหตุ ยังไม่ทราบแน่ชัด ผู้ป่วยจะมีอาการปวดก้นเมื่อมีการถ่ายคล้ายมีดบาด ร่วมกับอุจจาระมีเลือดสดติดปนกับก้อนอุจจาระ
การตรวจที่ทวารหนักต้องใช้นิ้วมือกดเบา ๆ จะพบรอยแตกแยกของ anoderm
การรักษาโดยให้ยาตามอาการและ stool softener ร่วมกับป้องกันมิให้ท้องผูก ถ้าเป็นเรื้อรังอาจเป็นฝี (Perianal abscess) ซึ่งจะมีอาการปวด บวมรุนแรงที่รอบทวารหนัก
ไส้เลื่อน (Hernia)
เป็นภาวะที่อวัยวะยื่นออกไปจากตำแหน่งที่ที่สมควรอยู่ สามารถเกิดขึ้นได้ในเกือบทุกอวัยวะของร่างกาย
สาเหตุ เกิดจากความอ่อนแอของผนังหน้าท้อง ลำไส้จะเคลื่อนที่ออกจากช่องท้องมาสู่ภายนอก
Indirect inguinal hernia มักจะพบในผู้ชายไส้เลื่อนชนิดนี้พบบ่อยที่สุด ในผู้หญิงพบน้อย
Direct inguinal hernia ลำไส้เคลื่อนออกจากช่องท้องบริเวณพังผืดที่หย่อนที่สุด โดยมีปัจจัยส่งเสริมคือมีความดันในช่องท้องเพิ่มมากขึ้น
อาการที่สำคัญ
การที่มีก้อนที่บริเวณขาหนีบ
บางครั้งลำไส้อาจเคลื่อนกลับเข้าไปในช่องท้อง หากกลับเข้าไปในช่องท้องไม่ได้ จะทำให้รู้สึกหน่วงๆ หรือ ปวดเวลายืนหรือเดิน
โรคแทรกซ้อน
Incarcerated hernia
Strangulated hernia
Bowel obstruction
การวินิจฉัย การวินิจฉัยทำได้ง่ายโดยการซักประวัติและการตรวจร่างกาย
การรักษา ขึ้นอยู่กับอาการว่ามากน้อยเพียงใดและเกิดบ่อยครั้งแค่ไหน จำเป็นที่จะต้องผ่าตัดหรือไม่ การรักษาโดยการผ่าตัดทำได้โดยนำลำไส้กลับเข้าไปในช่องท้องและเย็บซ่อมรูหรือตำแหน่งที่ลำไส้ออกมา
ท้องผูก (Constipation)
สาเหตุ
ยาบางชนิดที่ทำให้ท้องผูก
อุปนิสัยที่ไม่ถูกสุขลักษณะ
ภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดจากท้องผูก hemorrhoid, CA colon
การรักษาพยาบาล
ทานอาหารที่มีเส้นใยอาหารมากๆ ได้แก่ ผัก ผลไม้
ออกกำลังกายเป็นประจำ
ดื่มน้ำให้เพียงพอ
ฝึกการถ่ายให้เป็นนิสัย ให้ขับถ่ายเป็นเวลา
พิจารณาใช้ยาระบายที่เหมาะสมเป็นทางเลือกสุดท้าย และไม่ควรใช้ติดต่อกันเป็นเวลานาน
Diarrhea
ท้องร่วง ท้องเดิน ท้องเสีย หรือลงท้องคือ มีการถ่ายอุจจาระที่มีจำนวนมากกว่าปกติตั้งแต่ 3 ครั้งขึ้นไปใน 1 วัน หรือถ่ายเป็นน้ำจำนวนมากหรือเป็นมูกเลือด แม้เพียง 1 ครั้งต่อวัน
อาการท้องร่วงอย่างเฉียบพลัน
อาการท้องร่วงชนิดเรื้อรัง
สาเหตุ
จากการติดเชื้อ ทั้งจากเชื้อไวรัส เชื้อแบคทีเรีย โปรโตซัว ปรสิตและหนอนพยาธิ
ไม่มีการติดเชื้อ โรคที่พบได้บ่อยในบ้านเรา
การติดต่อของโรค โดยการรับประทานอาหารหรือดื่มน้ำที่ปนเปื้อนเชื้อที่ออกมากับอุจจาระของผู้ป่วย
ระยะฟักตัวของโรค อาจสั้น 10-12 ชั่วโมง หรือ 24-72 ชั่วโมง ขึ้นกับชนิดของเชื้อก่อโรค
ระยะติดต่อ ช่วงระยะที่มีอาการของโรค
การป้องกันตนเองจากโรคอุจจาระร่วง
ล้างมือให้สะอาดด้วยสบู่ และน้ำทุกครั้ง
ดื่มน้ำที่สะอาด โดยน้ำต้มสุกจะดีที่สุด
กำจัดขยะมูลฝอย เพื่อไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธ์ของแมลงวัน
ถ่ายอุจจาระลงในส้วมที่ถูกสุขลักษณะ
เลือกรับประทานอาหารที่ปรุงสุกใหม่ๆ และสะอาด
ข้อควรปฏิบัติในการรักษาโรคอุจจาระร่วงเบื้องต้น
สำหรับเด็กที่ยังกินนมแม่ให้กินต่อไปไม่ต้องหยุด และเด็กที่กินนมผสมให้แบ่งกินครึ่งหนึ่งสลับกับสารละลายน้ำตาลเกลือแร่
ไปพบแพทย์หรือเจ้าหน้าที่สาธารณสุข หากอาการไม่ดีขึ้น
.การใช้ยาปฏิชีวนะ ควรอยู่ในความดูแลของแพทย์
ให้ของเหลวหรือสารน้ำเพิ่มขึ้น
โรคนิ่วไต
สาเหตุ
เกิดจากหลากหลายปัจจัย
ทั้งปัจจัยเสี่ยงทางด้านสิ่งแวดล้อม เมแทบอลิซึม พันธุกรรม วิถีการดำเนินชีวิต และอุปนิสัยการกินอาหารของตัวผู้ป่วยเอง
นิ่วที่พบมากที่สุดในประเทศไทย คือ นิ่วแคลเซี่ยมฟอสเฟตประมาณร้อยละ 80
สารที่กระตุ้นการก่อผลึกเหล่านี้เรียกว่า “สารก่อนิ่ว” ได้แก่ แคลเซี่ยม ออกซาเลต ฟอสเฟต และกรดยูริก
สำหรับสารที่ป้องกันการก่อผลึกในปัสสาวะเรียกว่า “สารยับยั้งนิ่ว” ที่สำคัญได้แก่ ซิเทรต โพแทสเซียม และแมกนีเซียม
ปัจจัยเสี่ยงด้านความผิดปกติทางเมแทบอลิซึมที่พบได้บ่อยในผู้ป่วยโรคนิ่วไตไทย คือ การมีสารยับยั้งนิ่วในปัสสาวะต่ำ
อาการ
ปัสสาวะขัดกระปริกระปรอย
พบตะกอนเหมือนก้อนกรวดเล็กๆ ปนออกมาพร้อมกับปัสสาวะ
ก้อนนิ่วมีขนาดใหญ่ขึ้น ส่งผลให้ปัสสาวะมีสีแดงขึ้นจากเลือด
ปวดหลัง แบะอาจจะมีอาการไข้ร่วมด้วย
หากปล่อยให้เป็นนิ่วไปนานๆ โดยมิได้รับการรักษาจะทำให้ไตบาดเจ็บเรื้อรัง ส่งผลให้ไตมีรูปร่างและทำงานผิดปกติมากขึ้นและนำไปสู่ภาวะไตวายในที่สุด
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
พบเม็ดเลือดขาวในปัสสาวะอาจแสดงถึงว่ามีการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ
ตรวจการทำงานของไตโดยการเจาะเลือดดูค่า creatinin
มักจะพบเม็ดเลือดแดงในปัสสาวะ
การตรวจทางรังสี x-ray IVP Ultrasound
การรักษา
การผ่าตัดเปิด
การใช้คลื่นเสียงกระแทกเพื่อสลายนิ่ว (ESWL)
การนำนิ่วออกผ่านการใช้กล้องที่ส่องเข้าสู่ไต
การสร้างเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันการเกิดโรคนิ่วไตซ้ำ
บริโภคอาหารที่มีประโยชน์ มีสารอาหารครบถ้วนและสัดส่วนเหมาะสม
ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
ควรดื่มน้ำปริมาณมาก ในแต่ละวันควรดื่มน้ำให้ได้มากกว่า 8 แก้วต่อ
นางสาวทิพย์สุดา สนิทพจน์ รหัสนักศึกษา 601410067-1