Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การแจ้งข่าวร้าย, นางสาว รักษ์ชนนี โกษาวัง 6001211375 เลขที่ 63 Section A -…
การแจ้งข่าวร้าย
บทบาทพยาบาล
สร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้ป่วยและครอบครัว
ปรเมินการรับรู้ของครอบครัว
สอบถามความรู้สึกและความต้องการการช่วยเหลือ
รับฟังผู้ป่วยและญาตด้วยความตั้งใจ เห็นใจ เปิดโอกาสให้ซักถามข้อสงสัย
ให้ความช่วยเหลือประคับประคองจิตใจผ่านระยะเครียดและวิตกกังวล
ในระยะโกรธ ควรยอมรับพฤติกรรมทางลบของผู้ป่วยและญาติโดยไม่ตัดสิน
สะท้อนคิดให้ครอบครัวคนหาเป้าหมายใหม่ในชีวิตอย่างมีความหมาย
ตระหนักว่าการมีชีวิตอยู่เพื่อใครหรือเพื่ออะไร
จัดการกับอาการี่ทรบกวนผู้ป่วยเพื่อให้ได้รับความสุขสบาย ควบคมความเจ็บปวด ช่วยเหลือในสิ่งที่ผู้ป่วยต้องการ ส่งเสริมให้ครอบครัวมีส่วนร่วมในการดูแล
อธิบายให้ทราบถึงสิ่งทีกำลังจะเกิดขึ้นกับผู้ป่วย
การดำเนินโรค อาการที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม
ให้ความหวังที่สามารถเป็นจริง
ให้ข้อมูลที่เป็นความจริงเกี่ยวกับพยาธิสรีรวิทยาของโรค
สะท้อนคิดเกี่ยวกับการอยู่กับปัจจุบันและทำให้ดีที่สุด
ให้ความมั่นใจกับผู้ป่วยและญาตว่า แพทย์และทีมสุขภาพจะดูแลอย่างดีที่สุด
ปรึกษาแพทย์เกี่ยวกับข้อมูล การดำเนินโรค แนวทางการรักษา
ทำหน้าที่แทนผู้ป่วยในการเรียกร้อง ปกป้องผู้ป่วยให้ได้รับประโยชน์ ปกป้องศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
ให้ความเคารพผู้ป่วย เข้าใจ เห็นใจ ไว้ต่อความรู้สึกและความต้องการของผู้ป่วย
ให้ผู้ป่วยและญาติมีส่วนร่วมในการตัดสินใจการรักษา
ไม่บีบบังคับให้ความโกรธลดลงในทันที
ช่วยเหลือในการปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาตามความเชื่อ เพื่อให้เกิดความผาสุกทางจิตใจ เผชิญกับสิ่งที่ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้
ให้โอกาสในการระบายความรู้สึก
ให้การช่วยเหลือในการจัดการสิ่งที่ค้างคาในใจ เพื่อให้ผู้ป่วยจากไปอยางสงบ
ปฏิกริยาจากการรับรู้ข่าวร้าย
ระยะต่อรอง
มักแฝงด้วยความรู้สึกผิด
อาจรู้สึกว่าตนเองมีความผิดที่ยังไม่ได้ทำบางอย่างที่ค้างคา หรือยีงไม่ได้พูดอะไรกับใคร
เป็นระยะที่ต่อรองกับความผิดหวังหรือข่าวร้ายที่ได้รับ
มักจะต่อรองกับตนเอง คนรอบข้าง หรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์
ระยะซึมเศร้า
ความรุนแรงของความรู้สึกซึมเศร้าขึ้นอยู่กับ ความเข้มแข็งของแต่ละบุคคล และสภาพแวดล้อมของบุคคลนั้นๆ
การแสดงออก
ออกห่างจากสังคมรอบข้าง
เบื่อหน่าย
เก็บตัว
ไม่ค่อยพูดคุย
ถามคำตอบคำ
ไม่สนใจสิ่งแวดล้อม
ร้องไห้
หงุดหงิดง่าย
คิดหมกมุ่นเกี่ยวกับความตาย
คิดว่าตนไร้ค่า
ระยะโกรธ
ความโกรธอาจจะขยายไปยังแพทย์ ครอบครัว ญาติ เพื่อน และทุกอย่างรอบตัว
ปฏิกริยาอาจออกมาในลักษณะ อารมณ์รุนแรง ก้าวร้าว และต่อต้าน
เป็นภาวะธรรมชาติ และเป็นการเยียวยาความรู้สึกที่เกิดจากสูญเสีย หรือข่าวร้ายที่ได้รับ
ระยะยอมรับ
มองเหตุการณ์อย่างพิจารณามากขึ้น
มองเป้าหมายในอนาคตมากขึ้น
เริ่มยอมรับสิ่งต่างๆ ตามความเป็นจริง อารมณ์เจ็บปวดหรือซึมเศร้าดีขึ้น
ปรับตัว และเรียนรู้เพื่อดำเนินชีวิตต่อไปได้
ระยะปฏิเสธ
เป็นระยะหลังจากผู้ป่วยและญาติทราบข้อมูล จะรู้สึกตกใจ ช็อคและปฏิเสธสิ่งที่ได้รับรู้
ไม่เชื่อ ไม่ยอมรับความจริง ไม่เชื่อผลการรักษา อาจขอย้ายสถานที่รักษา
นางสาว รักษ์ชนนี โกษาวัง 6001211375 เลขที่ 63 Section A