Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะปวดท้อง ทางสูตินรีเวช - Coggle Diagram
ภาวะปวดท้อง
ทางสูตินรีเวช
การตั้งครรภ์นอกมดลูก (ectopic pregnancy)
ความหมาย
เป็นการตั้งครรภ์ที่เกิดนอกโพรงมดลูก พบได้บ่อยบริเวณท่อนาไข่ คือแทนที่ตัวอ่อนจะเดินทางไปฝังตัวในโพรงมดลูก แต่กลับฝังตัวที่ท่อนาไข่
สาเหตุ
มีความผิดปกติของท่อนำไข่ตีบตัน ตัวอ่อนมีความผิดปกติ หรืออุ้งเชิงกรานมีพังผืดอยู่เยอะ
คนที่มีบุตรยาก และเคยใช้วิธีช่วยการเจริญพันธุ์ ไม่ว่าจะเป็นการทำเด็กหลอดแล้ว หรือวิธีการช่วยเจริญพันธุ์อื่น ๆ
คนไข้ตั้งครรภ์นอกมดลูกจะมาพบแพทย์ด้วย 3 อาการหลัก ๆ คือ ประจำเดือนขาด ปวดท้องน้อย มีเลือดออกกะปริดกะปรอยทางช่องคลอด แต่บางคนอาจจะไม่จำเป็นต้องมีถึงครบ 3 อาการก็ได้
รักษา
ยุติการตั้งครรภ์
ไม่ผ่าตัด วิธีการนี้จะมีการให้ยาแก่คนไข้ เพื่อไปทาลายตัวอ่อน และรก ทำให้ฝ่อ
การผ่าตัด แพทย์จะทาการผ่าตัดก็ต่อเมื่อวินิจฉัยแล้วว่า คนไข้มาพบแพทย์ตอนอายุครรภ์เยอะ หรือขนาดตัวอ่อนใหญ่มากเกินกว่าที่จะฉีดยาได้
แท้งบุตร (abortion)
ความหมาย
การตั้งครรภ์ไม่สามารถดาเนินต่อทาให้เด็ก ออกมาก่อนกาหนดภายใน 20 สัปดาห์ของการการตั้งครรภ์
สาเหตุ
ปัญหาเกี่ยวกับฮอร์โมน
ปัญหาเกี่ยวกับการติดเชื้อโรคของคุณแม่
ปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพของคุณแม่ อายุคุณแม่
เกี่ยวกับวิถีการดำเนินชีวิตของคุณแม่ เช่น การสูบบุหรี่ การดื่มสุรา การดื่มกาแฟปริมาณมาก การขาดสารอาหาร การสัมผัสรังสีหรือสารเคมี เป็นต้น
การได้รับอุบัติเหตุ
ชนิดของการแท้งบุตร
Threatened abortion : แท้งคุกคาม
nevitable or Incomplete abortion แท้งหยุดไม่ได้
Complete abortion แท้งครบหรือสมบูรณ์
Missed abortion หมายถึงการแท้งโดยที่คุณแม่ไม่ทราบว่าแท้ง และตัวอ่อนยังไม่ถูกขับออกทราบได้จากการทาultrasound พบตัวอ่อนที่เสียชีวิตแล้วในมดลูก
Recurrent abortion หมายถึงการแท้งซ้าติดต่อกันสามครั้ง
การดูแล
รักษาผู้ที่แท้งคือระวังเลือดออก และการติดเชื้อ หากตั้งครรภ์อ่อนแล้วแท้ง ร่างกายก็สามารถขับตัวอ่อนและรกออกหมด แต่หากขับไม่หมดมีเลือดออกจะต้องทาการขูดมดลูก หากพบว่าเลือดออกไม่หยุด และมีไข้สูงหนาวสั่นต้องรีบไปพบแพทย์
การป้องกัน
เนื่องจากการแท้งส่วนใหญ่เกิดจากความผิดปกติของโครโมโซม ดังนั้นจึงไม่มีทางป้องกันได้ ดังนั้นก่อนการตั้งครรภ์ควรจะดูแลตัวเองให้แข็งแรง
การออกกาลังกายสม่าเสมอ
งดหรือหลีกเลี่ยงคนที่สูบบุหรี่
จัดการความเครียด
ควบคุมน้ำหนัก
รับประทานกรดโฟลิก
ติดเชื้อในอุ้งเชิงกราน (pelvic inflammatory disease )
ความหมาย
การอักเสบเฉียบพลันหรือเรื้อรังของอวัยวะสืบพันธุ์ส่วนบน ได้แก่ มดลูก ท่อนำไข่ รังไข่ รวมทั้งเอ็นต่าง ๆ ที่ยึดอวัยวะเหล่านี้ และเยื่อบุช่องท้องบริเวณอุ้งเชิงกราน
อาการ
อาการปวดท้องน้อยหรืออุ้งเชิงกราน
ตกขาวผิดปกติ มีหนองกลิ่นเหม็นออกจากช่องคลอด
อาการของท่อปัสสาวะอักเสบ
เลือดออกผิดปกติจากโพรงมดลูก
ไข้ ส่วนใหญ่มักจะมีไข้สูง อาการไข้จะเกิดขึ้นพร้อมกันหรือใกล้เคียงกับเวลาที่เริ่มมีอาการปวดท้องน้อย
อาการคลื่นไส้อาเจียนและ/หรือท้องเสียถ่ายเหลว แสดงถึงการอักเสบของเยื่อบุช่องท้องและโรคที่เกิดขึ้นอยู่ในเกณฑ์รุนแรง
สาเหตุ
ส่วนใหญ่เกิดจากการแพร่กระจายของเชื้อโรคจากอวัยวะสืบพันธุ์ส่วนล่าง ขึ้นไปยังส่วนบน แล้วทาให้เกิดการอักเสบขึ้น เชื้อที่ทำให้เกิดโรคมีหลายชนิด แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ
เชื้อติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (sexual transmitted organism)
เชื้อแบคทีเรียในช่องคลอด ที่ในภาวะปกติจะเป็นเชื้อประจำถิ่น ไม่ก่อให้เกิดโรค
การรักษา
การรักษาโรคอุ้งเชิงกรานอักเสบชนิดเฉียบพลัน
1.1 ให้ผู้ป่วยนอนพักผ่อนให้มาก ท่านอนที่ดีที่สุด คือ ท่านอนศีรษะสูง
1.2 ให้ยาระงับปวดชนิดที่ไม่มีฤทธิ์ลดไข้
1.3 ให้งดอาหารและน้าทางปาก
1.4 ให้ยาปฏิชีวนะที่เหมาะสม ยาที่แนะนาให้ใช้รักษาได้แก่ Cefoxitin, Doxycycline, Clindamycin ,Metronidazole ,Ceftriaxone
1.5 รักษาคู่ครองด้วย ในกรณีที่เกิดจากเชื้อที่ติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การรักษาโรคอุ้งเชิงกรานอักเสบชนิดเรื้อรัง
2.1 การรักษาทางยา ได้แก่ การให้ยาระงับปวด การให้ยาปฏิชีวนะชนิดออกฤทธิ์ครอบคลุมกว้าง
2.2 การรักษาโดยการผ่าตัด
ถุงน้ำรังไข่หมาย
ถุงน้ำรังไข่ที่ปกติธรรมดา ซึ่งมี 2 ประเภทคือ
ถุงน้ำรังไข่ที่เกิดขึ้นเมื่อไข่เจริญเต็มที่แต่ไข่ยังไม่ตก(Follicular cyst)
ถุงน้ำรังไข่ที่เกิดขึ้นเมื่อไข่ตกไปแล้ว(Corpus luteum cyst)
•เนื้องอกรังไข่ชนิดหนึ่ง ที่ชื่อ Cystadenoma Cyst
•ถุงน้ารังไข่ไม่ปกติ มีหลายถุงน้าในรังไข่ ที่เรียกว่า Polycystic ovarian cyst