Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักการดาเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อทางศาสนาพุทธ - Coggle Diagram
หลักการดาเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อทางศาสนาพุทธ
การดำเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อของศาสนาพุทธ (พุทธศาสนิกชน)
พุทธศาสนากับความจริงสูงสุด4 ประการ
2.อริยสัจ (The four noble truths)
3.ปฏิจจสมปบาท กระบวนธรรมของจิต ในการเกิดขึ้นและดับไปแห่งทุกข์ใช้ในการปฏิบัติเพื่อการดับไปแห่งทุกข์
1.กฏไตรลักษณ์ (The three characteristics of existence)
อนัตตา คือ ความไม่มีตัวตนที่แท้จริง
ทุกขัง คือ ความทุกข์ ถูกบีบคั้น ไม่สมอยาก ตั้งอยู่ไม่ได้
อนิจจัง คือความไม่เที่ยง ไม่คงตัว เสื่อมสลาย
4.นิพพาน (Nirvana) ความดับสนิทของตัณหา การสิ้นไปของราคะโทสะโมหะอายตนะ (สิ่ง) นั้นจะไม่มีอยู
อริยสัจ 4 ประการ (THE FOUR NOBLE TRUTHS)
1.ทุกข์คือ สภาพที่ทนได้ยาก ภาวะบีบคั้น กดดัน ขัดแย้ง มีความบกพิร่อง
2.สุมทัยคือ เหตุเกิดแห่งทุกข์ เอาตัวตนเป็นที่ตั้ง
3.นิโรธคือ ความดับทุกข์ ดับความอยาก สิ้นราคะ ตันหา สิ้นโทสะ สิ้นโมหะ
4.มรรค คือ ทางปฏิบัติในการออกจากทุกข์ 8ประการ
1.สัมมาทิฏฐิ มีความเห็นถูกต้อง ความไม่รู้ก่อให้เกิดความเห็นผิด
2.สัมมาสังกัปปะ มีความคิดถูกต้อง คู่กับสัมมาทิฏฐิ
3.สัมมาวาจา ควบคุมวาจาของตน ไม่กล่าวเท็จ ไม่พูดส่อเสียด ไม่พูดหยาบคาย ไม่พูดเพ้อเจ้อ
4.สัมมากัมมันตะ การประพฤติที่ถูกต้อง รักษากริยาทางกาย ไม่ทำร้ายทำลายชีวิตบุคคลอื่น ไม่ลักขโมยฉ้อโกง ไม่ละเมิดทางเพศ อยู่ในกรอบศีลธรรมจรรยา
5.สัมมาอาชีวะ ประกอบอาชีพในทางสุจริต เว้นจากการค้าอาวุ ค้ามุนษย์ยาพิษ สุรา ไม่ข่มขู่ กินสินบน เจ้าเล่ห์
6.สัมมาวายามะ พยายามที่จะหยุดความคิดที่ชั่ว ควบคุมตนเอง มีวินัยในตนเอง
ไม่ปลุกเร้าและหยุดอกุศลวิตก
7.สัมมาสติ การรู้สึกตัวอยู่เสมอ ใจมีสติกำกับ กำหนดการเคลื่อนไหวของกาย
กำหนดที่ความรู้สึกเวทนา
8.สัมมาสมาธิ การที่จิตใจสงบ มีอารมณ์เดียว ไม่ฟุ้งซ่าน พร้อมที่จะพิจารณาสัจภาวะ
พุทธศาสน์กับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม
การดูแลรักษาด้านร่างกาย
การดูแลจิตใจ
3.การดูแลจิตวิญญาณ
4.การดูแลด้านสังคม
การดําเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อของศาสนาพุทธ
พระพุทธศาสนามุ่งเน้นเรื่องการพ้นทุกข์ และสอนให้รู้จักทุกข์และวิธีการดับทุกข์ ให้พ้นจากอวิชชา อันเป็นเหตุให้เกิดทุกข์จากกิเลสทั้งปวง คือ ความโลภ ความโกรธ ความหลง
หลักคําสอนในพุทธศาสนา
ความจริงสูงสุดอันเป็นพื้นฐานหรือที่มาของหลักคําสอน
แก่นหรือสาระสําคัญของคําสอน
หลักศีลธรรมที่เป็นแม่แบบของจริยธรรมที่มนุษย์พึงปฏิบัติ เพื่อนําชีวิตไปตามแนวทางที่ประเสริฐ
พุทธศาสนิกชน กับศีล5
ศีลข้อ 3กาเมสุ มิจฉาจารา เวรมณี งดเว้นจากการประพฤติผิดในกาม
ศีลข้อ 4 มุสาวาทา เวรมณี งดเว้นจากการกล่าวเท็จ
ศีลข้อ 2อทินนาทานา เวรมณี งดเว้นจากการถือเอาของที่เจ้าของมิได้ให้
ศีลข้อ 5 สุราเมรยมัชชปมาทัฏฐานา เวรมณี งดเว้นจากการดื่มสุราและเมรัย
ศีลข้อ 1ปาณาติปาตา เวรมณี งดเว้นจากการทําชีวิตสัตว์ให้ตกล่วงไป
การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองแนวทางพุทธศาสน์
กรรมอารมณ์ คือ อารมณ์ของกรรมที่บุคคลได้กระทําไว้แล้ว ดีก็ตามไม่ดีก็ตาม
กรรมนิมิตคือเครื่องหมายของกรรมที่ตนได้กระทําไว้แล้ว ดีก็ตาม ไม่ดีก็ตาม
คตินิมิตหมายถึงเครื่องหมายของภพภูมิที่จะเกิด มาปรากฏให้เห็นในเวลาเมื่อใกล้จะตาย
ความตายเป็นทั้งความแน่นอน และความไม่แน่นอนไปพร้อม ๆ กันที่แน่นอนคือ ทุกคนต้องตายแต่ที่ไม่แน่นอน คือ ไม่ทราบว่าจะตายเมื่อไร
ความตายเป็นทั้งจุดเริ่มต้นและสิ้นสุด
ความตายเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นตลอดเวลาที่ยังมีชีวิตอยู่
ความตายเป็นทั้งวิกฤตและโอกาส
ความตายมีทั้งมิติทางกายภาพและทางจิตวิญญาณ ในทางพุทธศาสนาถือว่าการหมดลมหายใจเป็นเพียงการตายทางกายภาพ แต่ยังไม่นับว่ากระบวนการตายสิ้นสุดลงเพราะจิตยังทํางานอยู่
การประคองรักษาจิตให้สงบเป็นปกติท่ามกลางสภาพความเจ็บป่วยทุกข์ทรมานนั้นเป็นไปได้โดยผู้ป่วยสามารถฝึกจิตเองหรืออาจอาศัยสภาพแวดล้อมช่วย
การตายที่ดีทางพระพุทธศาสนาไม่ใช่ตายอย่างไร สภาพแบบไหนแต่อยู่ที่สภาพจิตก่อนตายว่าเป็นอย่างไร ให้ระลึกถึงสิ่งที่ดี
วัตถุประสงค์การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
2.ทํากิจวัตรสําคัญเท่าที่ทําได้
เป็นตัวของตัวเอง
ลดความทุกข์ทรมาน
อยู่อย่างมีคุณค่าในช่วงสุดท้ายของชีวิต
หลัก 7 ประการของการให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยระยะท้าย
ช่วยให้เขาปลดเปลื้องสิ่งค้างคาใจ อาจหมายถึง การแบ่งมรดกความน้อยเนื้อต่ําใจคนใกล้ตัว ความโกรธแค้น ความรู้สึกถูกผิด ฯลฯ
ช่วยปล่อยว่างสิ่งต่าง ๆ แม้บางคนอาจไม่มีสิ่งค้างคาใจที่เป็นกุศลแต่ก็ต้องปล่อยวางทุกสิ่งเช่นกัน ทั้งรูปธรรม นามธรรม แม้แต่ความรักก็ต้องปล่อยวาง
ช่วยให้เขาจดจ่อในสิ่งที่ดีงาม
สร้างบรรยากาศที่เอื้อให้ใจสงบ
ช่วยให้เขายอมรับความตายที่จะมาถึงการพูดให้เขายอมรับความตายที่จะมาถึงการพูดจาให้เขายอมรับความตายเป็นศิลปะ
กล่าวคําอําลาหากเขาคิดว่าจะอยู่กับเราได้ไม่นาน ก็ควรกล่าวคําอําลา อาจพูดขอบคุณสิ่งดี ๆที่เขาทําให้กับทุกคน
การให้ความรัก ความเข้าใจ ผู้ป่วยใกล้ตายมักจะมีความกลัวหลายอย่าง เช่นกลัวถูกทอดทิ้ง กลัวเป็นภาระ กลัวตายคนเดียว
หลักการและแนวคิดในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
สิทธิของคนใกล้ตายต้องรับรู้ว่าตนเองเป็นอะไร
การใส่อุปกรณ์เอาออกเพื่อให้คนไข้เสียชีวิต
ต้องเริ่มตั่งแต่แรกทั้งผู้ป่วยและครอบครัว
การทํางานเป็นทีม
1.ต้องดูแลผู้ป่วย และครอบครัวทุก ๆ ด้าน
การดําเนินของโรคทําให้เกิดเหตุการณ์ การเตรียมรับมือจะวางแผนจัดการอย่างไร
การบรรเทาความทุกข์ทรมานในผู้ป่วยระยะสุดท้าย
วิธีปฏิบัติที่ถูกต้องต่อความตาย
ขั้นที่ 2 สูงขึ้นไป เป็นอริยสาวกผู้มีการศึกษาได้สดับแล้วก็ระลึกถึงความตายเป็นอนุสติ สําหรับเตือนใจไม่ให้ประมาท เร่งขวนขวายปฏิบัติ ประกอบหน้าที่คุณงามความดีให้ชีวิตมีประโยชน์มีคุณค่า
ขั้นที่ 3 คือให้รู้เท่าทันความตาย ซึ่งมีคติเนื่องอยู่ในธรรมดาจะได้ชีวิตที่ปราศจากความทุกข์ ไม่ถูกบีบคั้นด้วยความรู้สึกหวาดหวั่นพรั่นกลัวต่อความพลัดพราก
ขั้นที่ 1 มนุษย์ปุถุชนทั่วไป ท่านว่าเป็นปุถุชนที่ยังมิได้สดับคือยังไม่มีการศึกษาก็ระลึกถึงความตายด้วยความหวาดหวั่นพรั่นกลัว เศร้าหดหู่ท้อแท้ ระย่อท้อถอย