Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมสุขอนามัยและการพักผ่อนนอนหลับ - Coggle Diagram
การส่งเสริมสุขอนามัยและการพักผ่อนนอนหลับ
การดูแลสุขภาพอนามัยส่วนบุคคล
ความสำคัญ
เพื่อสร้างความมั่นใจ อยู่รวมกับสังคมได้
พยาบาลต้องรู้และเข้าใจการพยาบาลเพื่อขจัดสิ่งไม่สุขสบายส่งเสริมให้ผู้ปุวยเกิดความสุข
ความหมาย
สุขอนามัย (Hygiene)หมายถึง หลักการและความรู้ข
สุขอนามัยส่วนบุคคล (Personalhygiene)คือ การดูแลตนเอง
ปัจจัย
1.อายุต้องการดูแลสุขอนามัยต่างกัน
ผู้สุงอายุ หรือเด็กเล็กที่ต้องมีคนดูแล
เพศ
ชายใช้แรงงานมากกว่า ฮอร์โมนส่งผลต่อกลิ่น ฯลฯ
ภาวะสุขภาพ
การเจ็บป่วย ก็ส่งผลไม่สามารถดูแลสุขอนามัยตนได้ดี
4.การศึกษา
5.เศรษฐกิจ บุคคลที่มีฐานะดีย่อมมีโอกาสที่จะมีสุขอนามัยที่ดีกว่า
6.อาชีพ
บุคลากรทางการแพทย์
ถิ่นที่อยู่
8.ภาวะเจ็บปุวย
9.สิ่งแวดล้อม
10.ขนบธรรมเนียมประเพณีและความเชื่อ และวัฒนธรรม
11.ความชอบ
ช่วงเวลาในการดูแล
1.ตอนเช้าตรู่
2.กตอนเช้า
3.ตอนบ่าย
4.ก่อนนอน
5.เมื่อผู้ปุวยต้องการ
การส่งเสริมการพักผ่อนนอนหลับ
ความสำคัญ
ส่งเสริมการเจริญเติบโต ซ่อมแซม
สร้างเนื้อเยื่อขึ้นใหม่
สงวนพลังงาน
ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และความจำ
ควบคุมอุณหภูมิ
ผลกระทบจากปํญหาการนอนไม่หลับ
ชนิด NREM
เมื่อยล้า คลื่นไส้อาเจียน ท้องผูก เวียนศีรษะ คออ่อนแรง ภูมิต้านทานลด ระดับความรู้สึกตัวบกพร่อง
ชนิด REM
สติปัญญา ความคิดบกพร่อง การรับรู้บกพร่อง ประสาทหลอน
ผลในภาพรวมจะทำให้การทำงานของร่างกายขาดประสิทธิภาพจากร่างกายอ่อนล้า และขาดสมาธิ :<3:
การนอนหลับที่ผิดปกติ
Insomnia พบบ่อยที่สุด
ลักษณะ
การนอนหลับยาก
หลับแบบหลับ ๆ ตื่น ๆ
ตื่นง่าย
ชนิดและสาเหตุ
1.Transient ชั่วคราว3-5วัน ความเครียดเฉียบพลัน
Short term ระยะสั้น<3 week ความเครียด
Chronicเรื้อรัง >1month
จาก
โรคทางจิตเวช
โรคทางอายุรกรรม
ยา
โรคนอนไม่หลับ
Hypersomnia หลับมากกว่าปกติ
3.Parasomnia
3.1 ความผิดปกติของการตื่น ละเมอฯลฯ
3.2 ความผิดปกติที่เกิดขึ้นในช่วงจากหลับมาตื่น/ จากตื่นมาหลับ ละเมอพูดฯลฯ
3.3 กลุ่มอาการที่เกิดขึ้นขณะหลับชนิดที่มีการกรอกตา ผีอำ ฝันร้ายฯลฯ
3.4 กลุ่มอื่น ๆ กรน กัดฟันฯลฯ
ปัจจัย
ปัจจัยภายใน
ส่วนบุคคล
อายุ
เพศ
ความไม่สุขสบาย
ความวิตกกังวล
ปัจจัยภายนอก
เสียง แสง อุณหภูมิ
กิจกรรมพยาบาล
ความไม่คุ้นเคยต่อสถานที่
อารหาร ยา
การส่งเสริม
การจัดสิ่งแวดล้อม
2.การจัดท่าทาง
3.การส่งเสริมให้ผู้ป่วยผ่อนคลาย
สิ่งแวดล้อมที่ดี
การทำเตียง
1.ว่าง
2.ลุกจากเตียงได้
3.ลุกจากเตียงไม่ได้
4.ผ่าตัด/รับยาสลบ
กระบวนการพยาบาล
1.การประเมินภาวะสุขภาพ(Assessment)
1.วิถีชีวิตและพฤติกรรมการนอนกลางวัน
2.วิถีชีวิตและพฤติกรรมการนอนหลับ
3.สิ่งที่ช่วยให้นอนหลับ
4.ปัญหาในการนอนหลับและการแก้ไข
5.สาเหตุที่ท าให้นอนไม่หลับและการแก้ไข
6.กิจกรรมหรือพฤติกรรมที่ช่วยลดความเครียด
7.สังเกตอาการแสดงของผู้ป่วยว่านอนหลับเพียงพอหรือไม่เพียงพอ
8.สัมภาษณ์อาการที่แสดงว่านอนหลับ
2.การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
4.การพยาบาล(Nursing/Implementation)
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
สอดคล้องกับเกณฑ์การประเมินผล
คุณภาพการนอนหลับ
เชิงปริมาณ>80%
เชิงคุณภาพ ผู้ป่วยนอนหลับได้มากขึ้น
การนอนหลับ
ระยะของการนอนหลับ(stages of sleep)
เคลื่อนไหวของลูกตาอย่างรวดเร็ว แบ่งเป็น4ระยะ
ระยะ3 4หลั่งฮอร์โมนช่วยการเจริญเติบโต(Growth Hormone) :<3:
ระยะที่4 เป็นการหลับลึกที่สุด
ระยะที่3 เป็นการหลับลึกปานกลาง
ระยะที่2 เริ่มหลับ
ระยะที่1ประมาณ10นาที ตื่นง่าย
การเคลื่อนไหวลูกตาอย่างรวดเร็ว การฝันจะพบประมาณ80%
การประเมินคุณภาพ
เชิงคุณภาพ
เชิงปริมาณ
การดูแลความสะอาดร่างกาย
ผิวหนัง
การนวดหลัง(Back rub or back massage)
หลักการนวดหลัง
1.จัดท่า
ไม่นวดบริเวณที่มีอันตราย
3.ไม่นวดแรงเกิน
นวดเป็นจังหวะ
เลือกใช้แป้งหรือโลชันหรือครีม(แอลกอฮอล)
6.เวลาประมาณ 5-10 นาที
ประเภท(เริ่มท่าไหนจบท่านั้น)
•Stroking ลูบตามแนวยาว
•Friction ถูขึ้นลงสลับกัน
Kneadingเป็นการบีบนวดกล้ามเนื้อ
•Beating ทุบเบาๆ ก้น
•Hackingเป็นการใช้สันมือสับเบาๆ ก้นไปแนวสันหลัง
•Clappingเป็นการใช้อุ้งมือตบเบาๆ
การอาบน้ำ(Bathing)
ชนิด
Complete bed bath
•2. Partial bed bath
•3. Sponge bath in the sink bath/travel bath
•4. Tub bath อ่าง
•5. Shower
•6. Bag
มี
ชนิดสมบูรณ์
จุดประสงค์
ประเมินการเคลื่อนไหวส่งเสริมการออกกำลังกาย
สังเกตผิวหนัง
รู้สึกสบาย
กระตุ้นการไหลเวียนเลือด ป้องกันแผลกดทับ
กำจัดสิ่งสกปรก เพิ่มความมั่นใจ
ทำในผู้ป่วย
ประเภทที่ขยับตัวไม่ได้
Absolute bedless
แท้งคุกคาม
ฯลฯ
เฉพาะบางส่วน bedless
ที่ห้องน้ำ (Shower)
การลูบตัวลดไข้
(Tepid sponge)
จุดประสงค์
ลดอุณหภูมิ
กระตุ้นให้การไหลเวียนเลือด
คลายความตึงเครียด
ใช้น้ำอุณหภูมิห้อง
ปากและฟัน
วัตถุประสงค์
สะอาด มีความชุ่มชื่น
กำจัดกลิ่นปาก ป้องกันฟันผุ
ลดการอักเสบ
สังเกต
การดูแล
ผู้ป่วยที่ช่วยเหลือตนเองได้น้อย
หลักการ
จัดท่านอนตะแคง ป้องกันการสำลักเข้าปอด
เล็บ
จุดประสงค์
สะอาด และสุขสบาย
ป้องกันการเกิดเล็บขบ
เล็บเท้า ตัดแนวตรง
ตา
จุดประสงค์
กำจัดขี้ตา
ความสุขสบาย
ส่งเสริมภาพลักษณ์
หลักการ
สำหรับผู้ที่ดูแลตนไม่ได้ ให้เช็ดจากหัวไปหาง ทิศเดียว สะอาดไปสกปรก
หู(นอกเท่านั้น)
จุดประสงค์
กำจัดสิ่งสกปรก
ทำความสะอาด
จมูก(เน้นกรณีผู้ป่วยใส่สาย)
จุดประสงค์
กำจัดสิ่งสกปรก
ป้องกันสารคัดหลั่งแห้ง
ป้องกันการเกิดแผลกดทับ
เส้นผมและหนังศีรษะ
วัตถุประสงค์
ขจัดความสกปรก ตรวจรักษา
ความสุขสบาย
ส่งเสริมภาพลักษณ์
อวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
หญิง
P-careหรือ flushing
•จัดผู้ป่วยให้นอนหงาย คลุมผ้าห่ม ชันเข่าเหน็บผ้า (Dorsal recumbent position)
ชาย
จัดผู้ป่วยให้นอนหงาย (dorsal position) เปิดเฉพาะส่วนอวัยวะสืบพันธุ์
จุดประสงค์
1กำจัดสิ่งสกปรกและกลิ่น
2.ลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อโดยเฉพาะเพศหญิง
เสริมสร้างความสุขสบาย
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมสุขอนามัย
การประเมินภาวะสุขภาพ (Health assessment)
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
เกณฑ์การประเมินผล
การวางแผน
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
5.1 ประเมินผลลัพธ์การพยาบาล
5.2 ประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล
5.3 ประเมินผลคุณภาพการบริการ