Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดำเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อของศาสนาพุทธ - Coggle Diagram
การดำเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อของศาสนาพุทธ
หลักคำสอนในพุทธศาสนา
เรื่องสำคัญในศาสนา 3ประการ
ความจริงสูงสุดอันเป็นพื้นฐานหรือที่มาของหลักคำสอน
แก่นหรือสาระสำคัญของคำสอน
หลักศีลธรรมที่เป็นแม่แบบของจริยธรรมที่มนุษย์พึงปฏิบัติ เพื่อนำชีวิตไปตามแนวทางที่ประเสริฐ
หลักปฏิบัติจริยธรรม
ความกตัญญูกตเวที
การรู้จักบุญคุณและตอบแทนอันเป็นหลักธรรมพื้นฐานทั่วไปของมนุษย์
เพื่อการดำรงอยู่อย่างปกติสุข
หลักปฏิบัติศีลธรรม
หลักคำสอนสำคัญของศาสนา
โอวาทปาติโมกข์
การไม่ทำความชั่วทั้งปวง การบำเพ็ญแต่ความดี การทำจิตให้สะอาดบริสุทธิ์
ศีล 5
ศีลข้อ 1 ปาณาติปาตา เวรมณี งดเว้นจากการทำชีวิตสัตว์ให้ตกล่วงไป
ศีลข้อ 2 อทินนาทานา เวรมณี งดเว้นจากการถือเอาของที่เจ้าของมิได้ให้
ศีลข้อ 3 กาเมสุ มิจฉาจารา เวรมณี งดเว้นจากการประพฤติผิดในกาม
ศีลข้อ 4 มุสาวาทา เวรมณี งดเว้นจากการกล่าวเท็จ
ศีลข้อ 5 สุราเมรยมัชชปมาทัฏฐานา เวรมณี งดเว้นจากการดื่มสุราและเมรัย อันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท
ศาสนาพุทธ
กล่าวถึงความจริงสูงสุด
กฏไตรลักษณ์ (The Three Characteristics of Existence)
กฏของธรรมชาติ
อนิจจัง คือ ความไม่เที่ยง ไม่คงตัว เสื่อมสลาย
ทุกขัง คือ ความทุกข์ ถูกบีบคั้น ไม่สมอยาก ตั้งอยู่ไม่ได้
อนัตตา คือ ความไม่มีตัวตนที่แท้จริง
อริยสัจ (The Four Noble Truths)
ความจริงอันประเสริฐ 4 ประการ
เหตุและผลของการเกิดแห่งทุกข์และวิธีการดับทุกข์
การไปสู่นิพพาน
ปฏิจจสมุปบาท (The Law of Cause and Effect)
กระบวนธรรมของจิต ในการเกิดขึ้นและดับไปแห่งทุกข์
นิพพาน (Nirvana)
เป็นความดับสนิทของตัณหา ปล่อยวาง สลัดทิ้งโดยสิ้นเชิงซึ่งตัณหา
ธรรมเป็นที่ระงับสังขารทั้งปวง สิ้นตัณหา
อสังขตธรรม เป็นการสิ้นไปแห่ง ราคะ โทสะ โมหะ
ความคลายกำหนัด กำจัดความเมา ความกระหาย ก่อนเสียชื่อ ความอาลัย
อายตนะ (สิ่ง) สิ่งนั้นมีอยู่ไม่ใช่ดิน น้ำ ลม ไฟ มิใช่โลกนี้-โลกหน้า มิใช่อาทิตย์-ดวงจันทร์ ในอายตนะไม่มีไป-มา ไม่มีตั้งอยู่ ไม่มีเกิด-ตาย เป็นอสังขตะ
พุทธศาสนากับการปฏิบัติการพยาบาล
ผู้ให้การดูแล/พยาบาล/รักษาเข้าใจผู้ป่วยอยู่ในความทุกข์
ทุกข์ จาก อาการของโรค
ทุกข์ จาก ความวิตกกังวล
ทุกข์ จาก ภาวะเศรษฐกิจ
พุทธศาสน์กับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม
การดูแลรักษาด้านร่างกาย
พระพุทธเจ้าประทับอยู่ที่เชตวนาราม เมืองสาวัตถีประชวรด้วยโรคลม
หมอชีวกโกมารภจัจ์ดูแลใหพ้ระพทุธเจ้าเสวย
ยาคูปรุงงา ข้างสาร ถั่วเขียว
ใหทรงสรงน้าร้อนละลายด้วยน้ำอ้อย
การดูแลรักษาด้านจิตใจ
พระพุทธเจ้าประทับอยู่ที่เวฬุวันทรงประชวรไม่สบายเป็นไข้หนัก
พระพทุธเจ้าทรงฟังพระมหาจุนทะสาธยายโพชฌงค์ที่เวฬุวัน
พระองค์ทรงหายจากอาการประชวร
การดูแลรักษาด้านจิตวิญญาณ
ในคราวนั้นพระพุทธองค์ทรงประชวรหนัก
พระองค์ทรงมีพระสติสัมปชัญญะไม่พรั่นพรึงอดกลั้น
พระพุทธองค์ดำรงชีวิตอย่างถูกต้อง กายจิตปกติ แม้เมื่อพระองค์ทรงประชวรก็หายได้อย่างรวดเร็วหมอที่ถวายการรักษาก็ทำได้ง่าย
การดูแลรักษาด้านสังคม
พระโมกคลัลานะดูแลรักษาพระสารีบุตร
ใช้รากบัวและกระเทียมแก้อาพาธ
การนำผลการปฏิบัติศีล 5 มาเป็นเครื่องมือในการดูแลสุขภาพ
ศีลข้อ 1 ปาณาติปาตา เวรมณี งดเว้นจากการทำชีวิตสัตว์ให้ตกล่วงไป
กินผักกินไม้หยุดทำลายชีวิตสัตว์
ศีลข้อ 2 อทินนาทานา เวรมณี งดเว้นจากการถือเอาของที่เจ้าของมิได้ให้
ไม่ต้องการอยากได้ของคนอื่นมาเป็นของตน
ศีลข้อ 3 กาเมสุ มิจฉาจารา เวรมณี งดเว้นจากการประพฤติผิดในกาม
ผู้ที่รักร่วมเพศ รักเพศเดียวกัน เป็นเรื่องผิดธรรมชาติ
ก็ส่งผลให้เกิดโรคติดต่อต่าง ๆ ได้
ศีลข้อ 4 มุสาวาทา เวรมณี งดเว้นจากการกล่าวเท็จ
การโกหก พูดไม่จริง เป็นสิ่งที่ทำให้ไม่ได้รับข้อเท็จจริง
ศีลข้อ 5 สุราเมรยมัชชปมาทัฏฐานา เวรมณี งดเว้นจากการดื่มสุราและเมรัย
มีผลร้ายต่อสุขภาพของตนเอง
อาจเกิดโรคมะเร็งตับ
มะเร็งของท่อน้ำดี
มะเร็งปอด
สูบบุหรี่มือสอง
การได้รับจากผู้สูบมือหนึ่งที่เป็นคนใกล้เคียง และสิ่งแวดล้อมที่เป็นมลภาวะ ( pollution environment) ของระบบทางเดินหายใจ
การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองแนวทางพุทธศาสน์
กรรมอารมณ์
อารมณ์ของกรรมที่บุคคลได้กระทำไว้แล้ว ดีก็ตามไม่ดีก็ตาม
ใกล้จะดับจิตอารมณ์อันนั้นแหละจะมาปรากฏทางด้านจิตใจของผู้ใกล้จะตาย
าอารมณ์ดีเกิดขึ้นในเวลานั้นก็ไปได้
อารมณ์
ไม่ดีเกิดขืนในเวลานั้นก็ไปไม่ดี
กรรมนิมิต
เครื่องหมายของกรรมที่ตนได้กระทำไว้แล้ว ดีก็ตาม ไม่ดีก็ตาม
เวลาใกล้จะดับจิตกรรมดีและกรรมชั่วที่ได้กระทำไว้จะมาปรากฏให้เห็นในเวลาเมื่อใกล้จะตาย
นิมิตที่ดีเกิดขึ้นในเวลานั้นก็ไปดี
นิมิตรไม่ดีเกิดขึ้นในเวลานั้นก็ไปไม่ดี
คตินิมิต
เครื่องหมายของภพภูมิที่จะเกิด มาปรากฏให้เห็น ในเวลาเมื่อใกล้จะตาย
เกิดในอบายภูมิ
นรก
เปรต
อสุรกาย
ไปเกิดเป็นมนุษย์
เห็นมารดา
เกิดเป็นเทวดา
เห็นปราสาท
เห็นวิมาน
ความตายตามแนวทางพุทธศาสนา
ความตายเป็นทั้งความแน่นอน และความไม่แน่นอนไปพร้อม ๆ กัน
แน่นอนคือ ทุกคนต้องตาย
ไม่แน่นอน คือ ไม่ทราบว่าจะตายเมื่อไร ที่ไหน ด้วยโรคอะไร
ความตายเป็นทั้งจุดเริ่มต้นและสิ้นสุด
ชีวิตใหม่ ภพใหม่
ความตายเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นตลอดเวลาที่ยังมีชีวิตอยู่
ความตายเป็นทั้งวิกฤตและโอกาส
เป็นวิกฤตทางกาย
เป็นโอกาสทางจิตวิญญาณ
ได้ค้นพบชีวิต
ได้สัมพันธภาพที่ดีกับครอบครัวคืนมา
ได้ให้อภัยและคืนดีกับที่ที่เคยขัดแย้ง
ความตายมีทั้งมิติทางกายภาพและทางจิตวิญญาณ
การหมดลมหายใจเป็นเพียงการตายทางกายภาพ
หลังหมดลมยังต้องรอให้การแตกดับทางจิตสิ้นสุดลงด้วย ถือว่าการตายนั้นสิ้นสุดลง
การประคองรักษาจิตให้สงบเป็นปกติท่ามกลางสภาพความเจ็บป่วยทุกข์ทรมาน
การตายที่ดีทางพระพุทธศาสนาไม่ใช่ตายอย่างไร สภาพแบบไหน แต่อยู่ที่สภาพจิตก่อนตายว่าเป็นอย่างไร
ระลึกถึงสิ่งที่ดี
พระรัตนตรัยและความดีที่ได้ทำมา
เพื่อให้จิตเป็นกุศล
หลัก 7 ประการของการให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยระยะท้าย
. การให้ความรัก ความเข้าใจ
ช่วยให้เขายอมรับความตายที่จะมาถึง
ช่วยให้เขาจดจ่อในสิ่งที่ดีงาม
ช่วยให้เขาปลดเปลื้องสิ่งค้างคาใจ
ช่วยปล่อยว่างสิ่งต่าง ๆ
กล่าวคำอำลา หากเขาคิดว่าจะอยู่กับเราได้ไม่นาน
สร้างบรรยากาศที่เอื้อให้ใจสงบ
หลักการและแนวคิดในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
ต้องดูแลผู้ป่วย และครอบครัวทุก ๆ ด้าน
ต้องเริ่มตั่งแต่แรกทั้งผู้ป่วยและครอบครัว
สิทธิของคนใกล้ตายต้องรับรู้ว่าตนเองเป็นอะไร ทำอะไร ได้แค่ไหน
การใส่อุปกรณ์เอาออกเพื่อให้คนไข้เสียชีวิต
การทำงานเป็นทีม
การดำเนินของโรคทำให้เกิดเหตุการณ์ การเตรียมรับมือจะวางแผนจัดการอย่างไร
การบรรเทาความทุกข์ทรมานในผู้ป่วยระยะสุดท้าย
วัตถุประสงค์การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
ลดความทุกข์ทรมาน
ทำกิจวัตรสำคัญเท่าที่ทำได้
เป็นตัวของตัวเอง
อยู่อย่างมีคุณค่าในช่วงสุดท้ายของชีวิต
วิธีปฏิบัติที่ถูกต้องต่อความตาย
ขั้นที่ 1 มนุษย์ปุถุชนทั่วไป
ยังมิได้สดับคือยังไม่มีการศึกษาก็ระลึกถึงความตาย
ความหวาดหวั่นพรั่นกลัว
เศร้าหดหู่ท้อแท้
ระย่อท้อถอย
ขั้นที่ 2 สูงขึ้นไป
ผู้มีการศึกษาได้สดับแล้วก็ระลึกถึงความตายเป็นอนุสติ
เตือนใจไม่ให้ประมาท
เร่งขวนขวายปฏิบัติ
ประกอบหน้าที่คุณงามความดีให้ชีวิตมีประโยชน์มีคุณค่า
ขั้นที่ 3 คือให้รู้เท่าทันความตาย
ไม่ถูกบีบคั้นด้วยความรู้สึกหวาดหวั่นพรั่นกลัวต่อความพลัดพราก
การพยาบาลผู้ป่วยในวาระสุดท้ายของชีวิต
การพยาบาลด้านร่างกาย
าปาก และริมฝีปากแห้งใช้สำลีชุบน้ำสะอาดแตะที่ริมฝีปากแล้วทาง
ด้วยวาสลินหรือสีผึ้ง
จมูกแห้ง หมั่นทำความสะอาดและรักษาความชุ่มชื้น
ตาแห้ง ให้หยอดตาด้วยน้ำตาเทียม
มีเสมหะมากควรให้ยาลดเสมหะแทนการดูดเสมหะ
การพยาบาลด้านจิตใจและจิตวิญญาณ
อ่านหนังสือธรรมะให้ฟัง
ท่องบทสวดมนต์หรือเปิดเทปบทสวดมนต์เบา ๆ ให้ฟัง
ให้โอกาสคนใกล้ตายได้แสดงความรู้สึกและความต้องการโดยพูดแต่สิ่งดีงามเพื่อการระลึกถึงคุณงามความดี บุญบารมีที่ได้กระทำมาในอดีต