Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทอัติโนมัติ - Coggle Diagram
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทอัติโนมัติ
ยาโคลิเนอร์จิค (Cholinergic drugs)
Anticholinesterase agent (Cholinesterase inhibitors) ออกฤทธิ์ทางอ้อม
การจับกับกับเอนไซม์ถ้าเป็นชั่วคราว จัดอยู่ในกลุ่ม reversible มีฤทธิ์สั้นใช้ประโยชน์ทางการแพทย์ได้ ส่วนสารที่จับกับเอนไซม์อย่างถาวร เรียกกลุ่ม irrreversible ได้แก่ organophosphate compound ซึ่งใช้เป็นยาฆ่าแมลง เช่น parathion ซึ่งเป็นพิษต่อร่างกาย
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ผลต่อ muscarinic receptor ได้แก่ผลต่อกล้ามเนื้อเรียบและต่อมของกระเพาะอาหารและทางเดินอาหาร ทางเดินปัสสาวะ ทางเดินหายใจ ตา แต่ผลเหล่านี้อาจรุนแรงเนื่องจากการใช้ยากลุ่มนี้มีผลทั่วร่างกาย(Systemic effect) ผลต่อระบบไหลเวียนเลือดอาจทำให้หัวใจเต้นช้า ลดcardiac output ความดันโลหิตลดลง
ผลต่อ nicotinic receptor ผลต่อกล้ามเนื้อลาย การบีบตัวของใยกล้ามเนื้อ ทำให้กล้ามเนื้อมีอาการสั่นพริ้ว
การนำไปใช้ทางคลินิก
ใช้รักษาอาการลำไส้ กระเพาะปัสสาวะไม่บีบตัว ได้แก่ยา Neostigmine
ใช้รักษาโรค Myasthenia gravis(MS)
ใช้ในการยุติฤทธิ์ของยาคลายกล้ามเนื้อกลุ่มที่เป็น competitive antagonist เพื่อให้ผู้ป่วยกลับหายใจได้ปกติเร็วขึ้นหลังการผ่าตัด ได้แก่ยา Neostigmine และ Pyridostigmine
ใช้ในการรักษาAlzheimer'd disease ยาช่วยบำรุงด้านความจำความเข้าใจ(cognitive) ทำให้สมองเสื่อมช้าลง
อาการข้างเคียงและการเป็นพิษ
organophosphate หรือยาฆ่าแมลง เป็นยาที่จับกับเอนไซม์อย่างถาวร เมื่อได้รับสารนี้จะเกิดอาการพิษ ได้แก่ รูม่านตาเล็ก หายใจลำบาก หัวใจเต้นช้า ความดันโลหิตต่ำ หน้ามืด เหงื่อออกมาก ปวดท้อง หลอดลมเกร็ง มีสารคัดหลั่งในทางเดินหายใจมาก การรักษาให้ยาต้านพิษ ได้แก่Atropine และ pralidoxime(2-PAM)เพื่อยับยั้ง Muscarinic effect
Cholinergenic agonist ออกฤทธิ์โดยตรง
การนำไปใช้ทางคลินิก
ใช้รักษาระบบทางเดินปัสสาวะ Bethanechol ใช้รักษาอาการปัสสาวะไม่ออกจากหัตถการผ่าตัด จากการคลอดบุตร
ใช้รักษาต้อหิน(glaucoma) ยาPilocarpine ใช้รักษาต้อหินเฉียบพลัน ฤทธิ์กระตุ้นให้ม่านตาหรี่ ลดความดันในลูกตาในการเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัดตาหรือตรวจตา
ใช้รักษาอาการท้องอืด
อาการข้างเคียงและความเป็นพิษ
Lacrimation เคืองตา
Urimation ปวดฉี่บ่อย
Salivation น้ำลาย น้ำมูก เหงื่อ
Defection ปวดมวน ปวดท้อง อาเจียน
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ระบบทางเดินปัสสาวะ ทำให้กระเพาะปัสสาวะหดตัว เพิ่มความดันกระเพาะปัสสาวะ เพิ่มการบีบตัวของท่อปัสสาวะ และการคลายตัวของกล้ามเนื้อหูรูด
ระบบทางเดินอาหาร เพิ่มการหลั่งสารคัดหลั่ง คือน้ำลาย และกระในกระเพาะอาหาร กระตุ้นกล้ามเนื้อทางเดินอาหารบีบตัว(peristalsis)
ระบบหายใจ ทำให้กล้ามเนื้อเรียบหลอดลมหดตัว หลั่งสารคัดหลั่งเพิ่มขึ้น
ฤทธิ์ต่อตา ทำให้ม่านตาหรี่(miosis)
ระบบประสาทส่วนกลาง มีฤทธิ์กระตุ้นสมองส่วน cortex มีบทบาทเกี่ยวกับการรับรู้(cognitive function) การเคลื่อนไหว (motor control)ความอยากอาหาร(appetite)
ระบบไหลเวียนเลือด มีผลโดยตรงทำให้หลอดเลือดส่วนปลาย(peripheral vascular resistance) ทำให้หลอดเลือดขยายตัว ลดการเต้นของหัวใจ
ข้อห้ามใช้
โรคแผลในกระเพาะอาหารและลำไส้(Peptic ulcer) เนื่องจากยากระตุ้นการหลั่งกรด และน้ำย่อยมากขึ้น
ผู้ป่วยลำไส้อุดตัน นิ่วทางเดินในปัสสาวะ กระตุ้นการบีบตัวจะก่อให้เกิดอันตราย
ผู้เป็นโรคหืด(Asthma)หรือโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง(Chronic obstructive pulmonary disease:COPD) จะทำให้หลอดลมหดตัว
ออกฤทธิ์กระตุ้นที่ Muscarinic และ Nicotic receptor
ยาปิดกั้นอะดรีเนอร์จิครีเซพเตอร์(Adrenenoceptor blocking drugs)
Beta-adrenergic antagonist
Non-selective B-blocker
Propranolol
ลดอาการใจสั่นและมือสั่น
ลดอาการตื่นเต้นได้ง่ายทำให้เกิดภาวะสงบ
รักษาความดันโลหิตสูง
รักษาหัวใจเต้นผิดจังหวะ (supraventricular และ ventricular arrthmias)
Selective B-blocker
Metoprolo และ Atenolol
ใช้รักษาความดันโลหิตสูง หัวใจเต้นผิดจังหวะ เจ็บหน้าอก ลดความเสี่ยงต่อภาวะหัวใจล้มเหลวจากกล้ามเนื้อหายใจขาดเลือด ยานี้ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่มอัตราการเต้นของหัว 45 ครั้ง/นาที นอกจากนี้ยังสามารถป้องกันไมเกรน
อาการข้างเคียงและความเป็นพิษ
หัวใจเต้นผิดจังหวะ
ระบบประสาท อาจพบอาการ ปวดศีรษะ นอนไม่หลับ เหนื่อยล้า
ระบบหายใจ ทำให้หลอดลมตีบแคบ ผู้ป่วยโรคหอบหืดไม่ควรใช้ยากลุ่มนี้
ยากลุ่มนี้มีผลกับระบบต่อมไร้ท่อและกระบวนการเมแทบอลิซึม
ระบบหัวใจและหลอดเลือด propranolol ทำให้หัวใจเต้นช้า
alpha adrenergic antagonists
Prazosin,Doxazosin
อาการข้างเคียงและความเป็นพิษ
ความดันโลหิตต่ำในขณะเปลี่ยนอริยาบถ ซึ่งพบบ่อยจากการใช้ยาในระยะแรกๆ
ยากระตุ้นระบบประสาทซิมพาเทติก(Adrenergic drugs)
Indirect-acting and mixed-type adrenergic agonist
Ephedrine&pseudoephedrine
ใช้เป็นยาลดน้ำมูกและคัดจมูก อาการข้างเคียงมีมากในผู้ป่วยโรคหัวใจ ได้แก่ความดันโลหิตสูง นอนไม่หลับ หัวใจเต้นเร็ว
Amphetamine
เป็นยาเสพติดให้โทษประเภทที่1 ออกฤทธิ์กระตุ้นประสาทส่วนกลางที่มีความแรงสูง ออกฤทธิ์โดยตรง(adrenergic receptor) และทางอ้อม(ทำให้มีการหลั่งของNE ออกจากปลายประสาท) ผลเด่นชัดต่อระบบประสาทส่วนกลาง ผลต่ออารมณ์ จิตใจ บุคลิกภาพ
อาการข้างเคียง นอนไม่หลับ กระสับกระส่าย อาจก้าวร้าว ประสาทหลอน เพ้อคลั่ง วิตกกังวล หวาดระแวง
ประโยชน์ทางคลินิก
ภาวะช็อก
Anaphylaxis
ภาวะหัวใจหยุดเต้น
Asthma&COP
Overactive bladder
Glaucoma ช่วยลดความดันลูกตา
Antihypertensive
ลดการคลั่งบวมของเนื้อเยื่อในจมูก ลดอาการบวม
Beta-adrenergic agonist
Beta2 adrenogic agonist
ยาขยายหลอดลมชนิดออกฤทธิ์สั้น(Short-acting beta agonists,SABAs)
ยาขยายหลอดลมชนิดออกฤทธิ์ยาว(Long-acting beta agonists,LABAs)
อาการข้างเคียงและความเป็นพิษ
ในผู้ป่วยโรคหัวใจจะมีความเสี่ยงมากขึ้น อาการได้แก่ ใจสั่น อาการสั่น อาจกระวนกระวาย วิตกกังวล หัวใจเต้นเร็ว
Beta3 adrnergic agonist
ใช้ในการรักษาอาการกลั้นปัสสาวะไม่ได้(overactive bladder)
ยากลุ่ม catecholamine
Norepinephrine/Noradrenaline(Levophed)
ออกฤทธิ์เช่นเดียวกับ epinephrine โดยการกระตุ้นแอลฟา1และเบต้า2 แต่มีความชอบต่อ alpha receptor สูงกว่า เพิ่มความต้านทานรวมของหลอดเลือดส่วนปลาย ทำให้หลอดเลือดหดตัว เพิ่มอัตราการเต้นของหัวใจและเพิ่มcardiac output
รักษาความดันโลหิตต่ำรุนแรง ที่ไม่ตอบสนองต่อยาอื่น
Dopamine;DA(Dopaminex,Dopamin,Intropin)
ประโยชน์ทางคลินิก คือรักษาภาวะช็อคจากหัวใจ(Cardiogenic shock) จากกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน(Acute myocardial infection)
Epinephrine(Adrenaline)
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ระบบทางเดินอาหาร กล้ามเนื้อเรียบของทางเดินอาหารคลายตัว กล้ามเนื้อหูรูดบีบตัว
ระบบหายใจ กล้ามเนื้อทางเดินหายใจคลายตัวและหลอดลมขยายตัว
ระบบไหลเวียนเลือด เพิ่มอัตราการเต้นของหัวใจและแรงบีบตัว
ผลต่อเมตาบอลิซึม กลูโคสและlactoseในเลือดสูง
ยาเข้าสู่สมองได้น้อยจึงไม่มีฤทธิ์กระตุ้นสมอง
การนำไปใช้ทางคลินิก
ภาวะแอนาฟิแล็กซิส
ใช้เพื่อห้ามเลือด
ภาวะหัวใจหยุดเต้น(cardiac arrest)
ใช้ผสมยาชาเฉพาะที่
ออกฤทธิ์กระตุุ้นทั้งAlpha(1,2) และ Beta(1,2)
Dobutamine
มีฤทธิ์โดยรวมทำให้หลอดเลือดขยายตัวจึงไม่ใช่ยาเพิ่มความดันโลหิต ประโยชน์ทางคลินิกเช่นเดียวกับ DA
อาการข้างเคียงและความเป็นพิษ
ระบบไหลเวียน คือ หัวใจเต้นผิดจังหวะ ปอดบวมน้ำ เจ็บหน้าอก (ความเสียงเพิ่มมากขึ้นในผู้ป่วย hyperthyroidism)
Tissue necrosis โดยเฉพาะอย่างยิ่ง Norepinephrine ถ้าฉีดเข้าหลอดเลือดดำรั่วไปเนื้อเยื่อรอบๆจะเกิด vasoconstriction อย่างมากจนเนื้อตายได้
ระบบประสาท คือ มีความวิตกกังวล ปวดศีรษะ อาการสั่น อ่าจเกิด cerebral hemorrhage
Alpha-adrenergic agonist
Alpha-1 agonist
Phenylephrine
Midodrine
Alpha-2 agonist
Clonidine
ยาลดความดันโลหิต มีชนิดรับประทานและแผ่นแปะ
ผลข้างเคียงที่พบบ่อย คือ ง่วง ซึม ปากแห้ง ท้องผูก เบื่ออาหารและอาจเกิดอาการถอนยาคือถ้าหยุดยาเร็ว อาจทำให้เกิดความดันโลหิตสูงเฉียบพลัน
ยาต้านมัสคารินิค(Antimuscarinic drugs)
Atropine ออกฤทธิ์แย่งที่กับ Ach ในการจับ Muscarinic receptors แบบแข่งขัน (Competitive inhibition) ทำให้ยามีผลลด parasymphathetic tone ส่วนร่างกายที่ตอบสนองต่อฤทธิ์ยาได้ไว คือต่อมมีท่อต่างๆ เช่น ต่อมน้ำลาย ต่อมสารคัดหลั่งในทางเดินหายใจ
อาการข้างเคียงและความเป็นพิษ
ตาพร่ามัว
ท้องผูก
ปากแห้ง คอแห้ง
ปัสสาวะคั่ง
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ระบบทางเดินอาหาร ลดการบีบตัวของหลอดอาหารไปจนถึงลำไส้ใหญ่
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ผลทำให้หัวใจเต้นเร็ว(tachycardia)
ระบบตา ม่านตาขยาย(mydriasis) ไม่สามารถควบคุมเลนส์ให้มองภาพได้ชัดเจนและทำให้ความดันในลูกตาสูง
กล้ามเนื้อเรียบอื่นๆ ลดความตึงตัวและความแรงในการบีบตัวของท่อปัสสาวะ ทำให้ปัสสาวะลำบาก
ระบบทางเดินหายใจ มีฤทธิ์ขยายหลอดลม(bronchodilation)ยับยั้งการหลั่งของสารคัดหลั่ง(secretion) ที่จมูก ปาก คอ และหลอดลม
ต่อมเหงื่อ atropine ทำให้ร่างกายขับเหงื่อได้น้อยลง ร่างกายไม่สามารถระบายความร้อนออกทางเหงื่อได้ อุณหภูมิของร่างกายจึงสูงเกิดไข้ เรียกว่า Aropine fever
การนำไปใช้ทางคลินิก
ใช้เป็นยาขยายหลอดลม(bronchodilators)
ใช้เป็นยาเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
ใช้รักษาภาวะกระเพาะปัสสาวะบีบตัวไวมากเกินไป(overactive bladder)
ใช้เป็นยารักษาโรคพาร์กินสัน
ใช้เป็น Antispasmodisc ยาลดการหดเกร็งของกล้ามเนื้อเรียบในช่องท้อง
รักษาภาวะล้มเหลวของระบบไหลเวียนโลหิต
ใช้ทางจักษุแพทย์ ทำให้รูม่านตาขยาย(mydriasis)
ใช้เป็นยาป้องกันโรคและรักษาอาการเมารถ เมาคลื่น(antimotion-sickness)
Antisecretory รักษาโรคแผลในกระเพาะอาหารและลำไส้ อาศัยฤทธิ์ยับยั้งการกลั่งกรดและน้ำย่อยในกระเพาะอาหาร
ใช้เป็นยาต้านพิษ(Antidote)