Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Gastrointestinal Problems - Coggle Diagram
Gastrointestinal Problems
การซักประวัติ ใช้หลัก COLDSPA
Duration ระยะเวลาที่เกิดและห่างกันของการปวดท้อง
Severity ความรุนแรงหรือระดับความเจ็บปวด ระดับความปวด
Location บริเวณที่เจ็บ
Pattern อะไรทำให้ดีขึ้นหรืออะไรทำให้แย่ลง
Onset เกิดขึ้นตอนไหน เกิดทันทีทันใดหรือค่อยเป็นค่อยไป
Associated factors อาการอื่นๆที่เกิดร่วม
Characteristic ลักษณะอาการปวด ปวดท้องอย่างไร
Visceral pain บหน่วงๆหรือปวดตื้อๆ ไม่ชัดเจน ปวดไม่รุนแรง ระบุตำแหน่งที่ปวดได้ไม่ชัดเจน
Somatic pain เฉียบพลัน รุนแรง สามารถ
บอกตำแหน่งได้อย่างชัดเจน
Referred pain อาการปวดในบริเวณที่ไกลจากอวัยวะที่มีพยาธิสภาพ
Physical Examination
การฟัง ประเมินการเคลื่อนไหวของลำไส้ (Bowel sound)
การเคาะ ควรทำอย่างเบาๆและนุ่มนวล เพื่อดูการโป่งตึงของท้อง
การดู ลักษณะทั่วไปของท้อง ดูการโป่งตึง เส้นเลือดโป่งพอง การเคลื่อนไหวที่ผิดปกติ การบวม ท้องมานน้ำ รวมไปถึงมีปลายมือปลายเท้าซีด นิ้วมือเย็น ดูสีผิวหนัง
การคลำ ควรเริ่มคลำในบริเวณที่ผู้ป่วยไม่รู้สึกเจ็บก่อน เพื่อป้องกันการเกร็งหน้าท้อง
การตรวจที่ใช้เทคนิคพิเศษ
Murphy’s sign จะพบ positive ในผู้ป่วยถุงน้ำดีอักเสบ
Rovsing’s sign, Psoas sign/test หรือ Obturator sign จะพบ positive ในผู้ป่วยไส้ติ่งอักเสบ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
Stool examination
Electrolyte
Urinalysis (UA)
Serum amylase, serum lipase
Beta-HCG
HBsAg, Anti-HBs
X-Ray: Plain abdomen
LFT
Ultrasonography
CBC
เอกซเรย์ทรวงอก (chest X-Ray)
Esophagogastroduodenoscopy (EGD)
แนวทางการรักษาเบื้องต้น
ยาและสารน้ำที่ใช้รักษา
ยาลดกรดในกระเพาะอาหาร Antacid
ยารักษาแผลในกระเพาะอาหาร Ranitidine HCL,Omeprazole
ยาขับลม บรรเทาอาการท้องอืด อาหารไม่ย่อย Simethicone
ยาลดการหดเกร็งของกล้ามเนื้อหน้าท้อง Hyoscine butylbromide (Buscopan)
ยาบรรเทาอาการคลื่นไส้อาเจียน Domperidone
ยาระบาย (lexative) เช่น Bisacodyl
ยารักษาภาวะท้องเดิน Oral rehydration salts(ORS)
สารน้ำและอิเลคโตรไลท์ 5 % D/NSS
หรือ Ringer’s Lactate แต่ไม่ควรให้ Ringer’s lactate ในผู้ป่วยที่มีภาวะตับทำงานไม่ดีและมี potassium ในเลือดสูง ควรให้เป็น 0.9 % NSS แทน
โรคที่พบบ่อยในอาการปวดท้อง
Duodenal ulcer
Gastroesophageal reflux disease (GERD)
Gastritis /
gastric ulcer
Cholecystitis / Gall bladder disease
Dyspepsia
Pancreatitis
Appendicitis
Peritonitis
Intestinal / colon obstruction
การดูแลเบื้องต้น
ช็อค (Shock)
ถ้าผู้ป่วยมีอาการแสดงของการช็อกให้พิจารณาให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ IV fluid ได้แก่ 0.9% NSS หรือ Ringer’s Lactate ส่งต่อพบแพทย์
อาการปวดท้องที่ปวดเกร็งเป็นพักๆให้นึกถึงโรคนิ่วในถุงน้ำดี
ปวดท้องน้อยร้าวไปอัณฑะหรือ
ช่องคลอดให้นึกถึงโรคนิ่วในไต หรือการปวดท้องร่วมกับการมีประจำเดือน
ให้การรักษาให้ยาลดการหดเกร็งเพื่อบรรเทาปวด (antispasmodic) เช่น Hyoscine butylbromide (Buscopan)
ปวดท้องบริเวณลิ้นปี่ร่วมกับปวดเสียดจุกแน่นลิ้นปี่สัมพันธ์กับมื้ออาหารให้นึกถึงโรค
กระเพาะอาหารเป็นแผล
ให้ยา Ranitidine
ปวดท้องน้อยร่วมกับอาการปัสสาวะกระปริบกระปรอยให้นึกถึงกระเพาะปัสสาวะอักเสบให้
พิจารณาให้ยากลุ่ม Amoxicillin หรือ Norfloxacin
การดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะเลือดออกในระบบทางเดินอาหารส่วนต้น
ประเมินเลือดออกในขณะนั้นหรือไม่ (Active Bleeding) หากดูดพบเลือด ควรทำ NG lavage ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
พิจารณาส่งต่อ เพื่อสลายนิ่วด้วยเครื่องสลายนิ่ว
การรักษาเบื้องต้น ในกลุ่มอาการท้องเดิน
อาหารเป็นพิษ (Food poisoning)
การรักษา
paracetamol
ORS
Dehydrateมากต้องให้ IV fluid
Norfloxacin (ผู้ใหญ่) , Cotrimoxazole (เด็ก) ในกรณี stool exam พบเชื้อ WBC
โรคบิดชิเกลลาหรือบิดไม่มีตัว (Shigellosis)
การรักษา
cotrimoxazole
amoxicillin
Norfloxacin
ORS
IV fluid เมื่อ Dehydration
กลุ่มอาการลำไส้ไวต่อสิ่งเร้า (Irritable bowel syndrome
การรักษา
Loperamide
antispasmodic
ORS
โรคบิดมีตัวหรือบิดอะมีบา
การรักษา
Metronidazole
Tetracycline
Erythromycin
อุจจาระร่วงจากการติดเชื้อไวรัส viral gastroenteritis
การรักษา
ยาลดไข้
ORS
รักษาหวัด
กลุ่มอาการคลื่นไส้อาเจียน (Nausea and Vomiting)
อาการคลื่นไส้อาเจียน มีอาการอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือทั้งสองอย่าง
ระยะเวลา,ลักษณะ,อาการที่มีความสัมพันธ์,อาการอื่นๆร่วมด้วยของอาการอาเจียน
กลุ่มอาการดีซ่าน/ ตัวเหลืองตาเหลือง (Jaundice)
การตรวจ
UA,Stool exam
LFT
CBC วินิจฉัย ธาลัสซีเมีย G-6-P-D efficiency
Ultrasound abdomen
สาเหตุ
hepatocellular jaundice
cholestatic jaundice
hemolytic jaundice
โรคในกลุ่มอาการนี้ที่พบบ่อย
โรคนิ่วในถุงน้ำดี (gall stone)
ถุงน้ำดีอักเสบ (cholecystitis)