Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 การดูแลผู้ป่วยวิกฤตในระยะท้ายของชีวิต, นางสาวสุชัญญา ยวงมณี…
บทที่ 8 การดูแลผู้ป่วยวิกฤตในระยะท้ายของชีวิต
ข้อสังเกตเกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายหรือ palliative careในหอผู้ป่วยวิกฤต
ผู้ป่วยที่มีอาการไม่สุขสบายและไม่ได้รับการจัดการอย่างเหมาะสมมากกว่าหอผู้ป่วยอื่นๆ
มีการสื่อสารในหัวข้อแผนการรักษาน้อยกว่าผู้ป่วยอื่นในโรงพยาบาล
มีการดูแลในหอผู้ป่วยวิกฤตน้อยกว่าหอผู้ป่วยอื่นๆ
การดูแลผู้ป่วยระยะท้าย
ดูแลปัญหาสุขภาพที่เกิดขึ้นตั้งแต่ในระยะแรกๆของโรค รวมทั้งประเมินปัญหาสุขภาพแบบองค์รวมทั้งด้านกาย ใจ สังคมและจิตวิญญาณ
เพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและครอบครัวและให้ผู้ป่วยเสียชีวิตอย่างสงบ
มุ่งเน้นเป้าหมายเพื่อเพิ่มคุณภาพชีวตให้ผู้ป่วยที่มีโรคหรือภาวะคุกคามต่อชีวิต โดยป้องกันและบรรเทาความทุกข์ทรมานที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วยและครอบครัว
ความแตกต่างระหว่างการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายในหออภิบาลผู้ป่วยวิกฤตและทั่วไป
Multidisciplinary team
ในหออภิบาลผู้ป่วยวิกฤตมีทีมแพทย์ทีมดูแลรักษาร่วมกันมากกว่า
ส่งผลให้แพทย์แต่ละสาขามุ่งเน้นในการรักษาอวัยวะที่ตนรับผิดชอบ
ทําให้ไม่ได้มองผู้ป่วยแบบองค์รวม ถ้าไม่มีแพทย์ท่านใดดูแลผู้ป่วยเป็นองค์รวม มีความเป็นไปได้สูงที่ผู้ป่วยจะไม่ได้รับการดูแลแบบ แบบ palliative care
ผู้ป่วยหอผู้ป่วยวิกฤตมีอาการไม่สุขสบายหลายอย่างและมีแนวโน้มถูกละเลย เนื่องจากทีมสุขภาพมักมุ่งประเด็นไปที่การหายของโรคมากกว่าความสุขสบายของผู้ป่วย
ควาไม่แน่อนของอาการ การรักษาใน ICU ผู้ป่วยมีโอกาสที่จะดีขึ้นแล้วกลับไปทรุดลงได้หลายครั้ง
ทรัพยากรมีจำกัด
เนื่องจากทรัพยามีจำกัดการใช้จ้ึงควรพิจารณาใช้กับผู้ป่วยที่มีโอกาสจะรักษาให้อาการดีขึ้นได้ ไม่ใช่ใช้กับผู้ป่วยวิกฤตทุกราย
ความคาดหวังของผู้ป่วยและครอบครัว
ผู้ป่วยที่เข้ารักษาในหออภิบาลผู้ป่วยวิกฤตมักขาดการเตรยีมตัวเพื่อรับมือกับภาวะสุขภาพที่ทรุดลงอย่างเฉียบพลัน ส่งผลให้มีความคาดหวังสูงที่จะดีขึ้นจากภาวการณ์เจ็บป่วยที่รุนแรง
การที่ผู้ป่วยมีอาการทรุดลงจากเดิม หรือมีโอกาสเสียชีวิตเป็นสิ่งที่ทำให้ญาติเสียใจากและมีแนวโน้มที่จะไม่ต้องการการรักษาแบบpalliative care
ต่างจากผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่ได้รับการดูแลแบบ palliative มาก่อนหน้านี้
สิ่งแวดล้อมในหออภิบาลผู้ป่วยวิกฤต ส่วนใหญ่มักจะพลุกพล่านวุ่นวายาย มีเสียงสัญญาณเตือนดังเกือบตลอดเวลา ไม่เหมาะกับการเป็นสถานที่สุดท้ายก่อนผู้ป่วยจะจากไป
Professional culture
บุคลากรของทีมสุขภาพที่ทํางานอยู่ในหออภิบาลผู้ป่วยวิกฤติจะคุ้นชินกับ
การรักษาผู้ป่วยเพื่อมุ่งให้มีชีวิตรอดพ้นจากภาวะวิกฤต
ทีมสุขภาพจะพยายามทําทุกวิถีทางเพื่อให้ผู้ป่วยรอดชีวิตติขณะเดียวกันทีมสุขภาพที่ทํางานในไอซียูอาจเกิดภาวะหมดไฟ (burnout) หรือเกิดความกังวลจากหน้าที่การงานได้ง่าย
หลักการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายในหออภิบาลผู้ป่วยวิกฤต
การปรึกษาทีม palliative care ของโรงพยาบาลนั้นๆมาร่วมดูแลในผู้ป่วยที่เข้าเกณฑ์
ICU admission after hospital stay at least 10 day
Multi-system/organ failure at least three systems
Diagnosis of active stage IV malignancy (metastatic disease)
Status post cardiac arrest
Diagnosis of intracerebral hemorrhage requiring mechanical ventilation
Terminal dementia
Surprise question "No"
แบบผสมผสาน แพทย์เวชบําบัดวิกฤตมีความรู้ความสามารถในการดูแลแบบ palliative care ให้กับผู้ป่วยทุกคน
หลักการดูแลผู้ป่วยแบบแบบ palliative care ทีมสุขภาพคือ "ABCD"
Attitude
Behavior
Compassion
Dialogue
องค์ประกอบของการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายในหออภิบาลผู้ป่วยวิกฤต
เป้าหมายการรักษา
หัวใจสําคัญของการวางแผนการรกัษาคือทักษะการสื่อสารและการพยากรณ์โรคเนื่องจากผู้ป่วยและครอบครัวอาจมีความคาดหวังต่อตัวโรคซึ่งส่งผลให้การตัดสินใจไม่เหมาะสม
เป้าหมายในการรกัษา อาจจะเป็นได้ในหลายรูปแบบ เช่น มุ่งเน้นให้สุขสบาย
Manage dying patient
ถ้าหากมีเวลาเตรียมตัวก่อนเสียชีวิตหลายวัน อาจพิจารณาย้ายผู้ป่วยไปยังหอผู้ป่วยที่ญาติสามารถเข้าเยี่ยมได้ใกล้ชิด สงบ และมีความเป็นส่วนตัว
ในกรณีที่การเสียชีวิตอาจเกิดขึ้นไม่นาน ทีมสุขภาพสามารถจัดสิ่ง แวดล้อมในหอผู้ป่วยวิกฤตให้สงบที่สุดที่พอจะทำได้ ช่วงเวลานี้ควรให้ครอบครัวคนใกล้ชิดอยูด่้วยเท่านั้น
การจัดการอาการไม่สุขสบายต่างๆ
หัวใจหลักของการดูแลแบบ palliative care คือการใส่ใจประเมินอาการและจัดการอาการไม่สุขสบายอย่างเต็มที่
อาการไม่สุขสบายที่พบได้บ่อยในผู้ป่วยวิกฤต คือ หอบเหนื่อย ปวด สับสน เป็นต้น
การสื่อสาร
ปิดเครื่องมือสื่อสารทุกครั้งที่พูดคุยกับครอบครัว
สถานที่ควรเป็นห้องส่วนตัวหรือห้องแยก ไม่มีการรบกวน
ควรมีแผ่นพับแนะนําครอบครัวถึงการเตรียมตัวก่อนทําการประชุมครอบครัวเพื่อจะได้เข้าใจถึงวัตถุประสงค์และมีการเตรียมตัวก่อน
หลีกเลี่ยงการใช้คำศัพท์แพทย์
ให้เกียรติครอบครัวโดยการฟัอย่างตั้งใจและให้เสนอความคิดเห็น
บทสนทนาควรเน้นที่ตัวตนของผู้ป่วยมากกว่าโรคสุด และมุ่งเน้นที่ประโยชน์ที่ผู้ป่วยจะได้รับเป็นสำคัญ ปล่อยให้มีช่วงเงียบเพื่อให้ญาติทบทวน
บอกการพยากรณ์โรคที่ตรงจริงที่สุด ถ้าเป็นการแจ้งข่าวร้าย อาจใช้ช้
SPIKES protocol
ฺBereavement care
เป็นปกติที่ครอบครัวจะเสียใจกับการจากไปของผู้ป่วยแต่ให้แสดงว่าการเสียใจกับการสูญเสียเป็นสิ่งปกติรวมถึงอาจมีเอกสารคําแนะนําการดูแลร่างกายและจิตใจผู้สูญเสีย
มีคําแนะนําว่าเมื่อไหร่ผู้สูญเสียจําเป็นต้องพบแพทย์หรือนักจิตบําบัดเพื่อปรึกษาปัญหา
การสื่อสารที่ดีและดูแลช่วงใกล้เสียชีวิตอย่างใกล้ชิดสามารถช่วยลดการเกิดความเครียดจากการสูญเสียคนรักได้
นางสาวสุชัญญา ยวงมณี 6001210330 เลขที่ 17 sec.B