Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 ประเด็นทางจริยธรรมในการดูแลผู้ป่วยวิกฤต และการดูแลระยะท้ายของชีว…
บทที่ 8
ประเด็นทางจริยธรรมในการดูแลผู้ป่วยวิกฤต
และการดูแลระยะท้ายของชีวิต
การแจ้งข่าวร้าย
ปฎิกิริยาจากการรับรู้ข่าวร้าย
ระยะโกรธ(Anger) เช่น ทำไมต้องเกิดขึ้นกับเรา, ไม่ยุติธรรมเลย
ระยะต่อรอง(Bargaining) เช่นอยากเห็นลูกเรียนจบก่อน, ฉันรู้ว่ามันร้ายเเรง แต่ฉันอยาก.....
ระยะปฎิเสธ(Denial) เช่น ไม่จริงใช่ไหม, คุณหมอแน่ใจรึเปล่าว่าผลการตรวจถูกต้อง
ระยะซึมเศร้า(Depression) ออกห่างสังคม ไม่สนใจสิ่งเเวดลเอม คิดฆ่าตัวตาย
ระยะยอมรับ(Acceptance) มองเป้าหมายในอนาคต ปรับตัว
บทบาทพยาบาล
ยอมรับพฤติกรรมผู้ป่วย
ปรึกษาเเพทย์
ประคับประครองจิตใจ
อธิบายการเกิดโรค
รับฟัง
สะท้อนคิด
สร้างสัมพันธภาพ
ให้ผู้ป่วยมีความสุขสบาย
ปกป้องสิทธิ์ผู้ป่วย
ความเชื่อทางศาสนา
ผู้เเจ้งข่าวร้าย
เป็นหน้าที่สำคัญของเเพทย์
แพทย์สามารถเเจ้งญาติโดยไม่ต้องแจ้งเเก่ผู้ป่วยโดยตรงในกรณีที่เป็นโรคทางจิต และมีแนวโน้มทำร้ายตนเองหากได้รับข่าวร้าย
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
สัมพันธภาพทางสังคมไม่เหมาะสมเนื่องจากไม่สามารถยอมรับความจริงได้
มีภาวะซึมเศร้าเนื่องจากได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคร้ายเเรง
ไม่สามารถยอมรับสภาพความเป็นจริงเมื่อถึงวาระสุดท้ายของชีวิต
กลัวตาย
หมดกำลังใจในการต่อสู้กับโรคที่เป็นเนื่องจากไม่มีความหวังในการักษา
ประเด็นทางจริยธรรมในการดูแลผู้ป่วยวิกฤต และการดูแลระยะท้ายของชีวิต
ความแตกต่างระหว่างการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายในหออภิบาลผู้ป่วยวิกฤตและทั่วไป
Multidisciplinary team มุ่งเน้นในการรักษาอวัยวะที่ตนรับผิดชอบ อาจทำให้ไม่ได้มองผู้ป่วยแบบองค์รวม
ผู้ป่วยในหอผู้ป่วยวิกฤติมีอาการไม่สุขสบายหลายอย่างและมีแนวโน้มถูกละเลย
ความไม่แน่นอนของอาการ
ทรัพยากรมีจำกัด การดูแลแบบ palliative สามารถเข้ามาช่วยลดอัตราการครองเตียงในหอผู้ป่วยวิกฤติได้
ความคาดหวังของผู้ป่วยและครอบครัว มักขาดการเตรียมตัวเพื่อรับมือกับภาวะสุขภาพที่ทรุดลงอย่างเฉียบพลัน
สิ่งแวดล้อมในหออภิบาลผูู้ป่วยวิกฤต ไม่เหมาะกับการเป็นสถานที่สุดท้ายก่อนผู้ป่วยจะจากไป
Professional culture ีมสุขภาพที่ทำงานในไอซียู
อาจเกิดภาวะหมดไฟ (burn out)
หลักการดูแลผูู้ป่วยระยะท้ายในหออภิบาลผูู้ป่วยวิกฤติ
ทีมสุขภาพที่ทำงานในไอซียูเป็นผูู้เริ่มลงมือด้วยตนเอง
การประเมินความต้องการของผู้ป่วยและครอบครัว
การสื่อสาร
การจัดการอาการไม่สุขสบายต่าง ๆ
การปรึกษาทีม palliative care
ลดการรักษาที่ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์
ลดการเกิดปัญหาระหว่างทีมสุขภาพกับครอบครัวได้
สามารถลดอัตราการครองเตียงในไอซียูได้
แบบผสมผสาน
องค์ประกอบของการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายในหออภิบาลผู้ป่วยวิกฤต
การจัดการอาการไม่สุขสบายต่าง ๆ
การวางแผนหรือการตั้งเป้าหมายการรักษา
Surprise question
Family meeting
การสื่อสาร
ลดการเกิดความไม่พอใจของครอบครัว
เพิ่มความเพิ่งพอใจในการให้บริการ
การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพสามารถลดความไม่
สุขสบายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่กำลังจะเสียชีวิต
พิจารณาย้ายผู้ป่วยไปยังหอผู้ป่วยที่ญาติสามารถเข้าเยี่ยมได้ใกล้ชิด สงบ และมีความเป็นส่วนตัว
เสนอพิธีทางศาสนาให้ผู้ป่วยและครอบครัว
การดูแลจิตใจครอบครัวผู้ป่วยต่อเนื่อง
คำแนะนำ เมื่อไหร่ผู้สูญเสียจำเป็นต้องพบแพทย์หรือนักจิตบำบัดเพื่อปรึกษาปัญหา
post-traumatic stress disorder
นางสาวกมลพร ปันทการ 6001211283 secBเลขที่58