Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ศาสนาพุทธ - Coggle Diagram
ศาสนาพุทธ
การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองแนวทางพุทธศาสนา
กรรมนิมิต คือ เครื่องหมายของกรรมที่ตนได้กระทำไว้แล้ว ในเวลาที่ใกล้จะดับจิตกรรมดีและกรรมชั่วที่ได้กระทำไว้แล้วนั้นแหละ
คตินิมิต คือ เครื่องหมายของภพภูมิที่จะเกิด มาปรากฎให้เห็นในเวลาเมื่อใกล้จะตายถ้าจะไปเกิดในอบายภูมิมี นรก เปรต อสุรกาย ดิรัจฉาน จะเห็นเครื่องหมายที่จะไปเกิด จะเห็นกระทะทองแดง เห็นเหว เห็บดาบ
ความตายเป็นทั้งความแน่นอน ความไม่แน่นอนไม่พร้อมๆกัน
ความตายเป็นทั้งจุดเริ่มต้นและสิ้นสุด
ความตายเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นตลอดเวลาที่ยังมีชีวิตอยู่
ความตายเป็นทั้งวิกฤตและโอกาส
ความตายมีทั้งมิติทางกายภาพและทางจิตวิญญาณในทางพระพุทธศาสนา
การประคองรักษาจิตให้สงบเป็นปกติท่ามกลางกลางสภาพความเจ็บป่วยทุกข์ทรมานนั้นเป็นไปได้โดยผู้ป่วยสามารถฝึกจิตเองหรืออาศัยสภาพแวดล้อม
กรรมอารมณ์ คือ อารมณ์ของกรรมที่บุคคลได้กระทำแล้ว เวลาใกล้จะดับจิตอารมณ์อันนั้นแหละจะปรากฎทางด้านจิตใจของผู้ใกล้จะตาย
หลัก 7 ประมาณของการให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยระยะท้าย
การให้ความรัก
ช่วยให้เขายอมรับความตายที่จะมาถึงการพูดให้เขายอมรับความตายที่จะมาถึงการพูดจา ให้เขายอมรับความตายเป็นศิลปะ
ช่วยให้เขาจดจ่อในสิ่งที่ดีงาม
ช่วยให้เขาปลดเปลื้องสิ่งค้างคาใจ อาจหมายถึง การแบ่งมรดก
ช่วยปล่อยวางสิ่งต่างๆ
สร้างบรรยากาศที่เอื้อให้ใจสงบ
หลักการและแนวคิดในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
ต้องดูแลผู้ป่วยและครอบครั้วทุกๆด้าน
ต้องเริ่มตั้งแต่แรกทั้งผู้ป่วยและครอบครัว
สิทธิของคนใกล้ตายต้องรับรู้ว่าตนเองเป็นอะไร ต้องมีการสื่อสารอย่างเหมาะสมกับคนไข้แต่ละราย
การใส่อุปกรณ์ เอาออกเพื่อให้คนไข้เสียชีวิต
การทำงานเป็นทีม
การบรรเทาความทุกข์ทรมานในผู้ป่วยระยะสุดท้าย
วัตถุประสงค์การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
ทำกิจวัตรสำคัญเท่าที่ทำให้
เป็นตัวของตัวเอง
ลดความทุกข์ทรมาน
อยู่อย่างมีคุณค่าในช่วงสุดท้ายของชีวิต
วิธีปฏิบัติที่ถูกต้องต่อความความ
ขั้นที่2 สูงขึ้นไป เป็นอริยสาวกผู้ที่มีการศึกษาได้สดับแล้วก็ระลึกถึงความตายเป็นอนุสติ สำหรับเตือนใจไม่ให้ประมาท
ขั้นที่3 คือให้ความรู้เท่าทันความตาย ซึ่งมีคติเนื่องอยู่ในธรรมดาจะได้ใช้ชีวิตที่ปราศจากความทุกข์ ไม่ถูกบีบคั้น
ขั้นที่1 มนุษย์ปุถุชนทั่วไป ท่านว่าเป็นปุถุชนที่ยังมิได้สดับคือยังไม่มีการศึกษาก็ระลึกความตายด้วยความหวาดหวั่นพรั่นกลัว เศร้าหดหู่ท้อแท้
การพยาบาลผู้ป่วยในวาระสุดท้ายของชีวิต
การเกิด แก่ เจ็บ ตาย เป็นเรื่องธรรมดาของสัตว์โลกเมื่อเกิดก็มีผู้ทำคลอดให้เกิดอย่างปลอดภัย เมื่อความแก่มาเยือนก็มีลูกหลานให้การช่วยเหลือดูแล
การพยาบาลด้านร่างกาย ควรให้ผู้ป่วยในระยะนี้พักผ่อนให้เต็มที่
การพยาบาลด้านจิตใจและจิตวิญญาณ สิ่งที่ผู้ป่วยกลัวการถูกทิ้ง การอยู่อย่างโหดเดี่ยว และสิ่งที่ต้องการคือความต้องการใครสักคนอยู่เป็นเพื่อนข้างๆ
การนำผลการปฏิบัติศีล 5 เป็นเครื่องมือในการดูแลสุขภาพ
ศีลข้อ3 งดเว้นจากการประพฤติผิดในกาม
สาเหตุของการเกิดโรคทางเพศสัมพันธ์ นอกจากผู้ที่ประพฤติผิดศีลธรรมในกาม หมายถึง ผู้ที่รักร่วมเพศ รักเพศเดียวกัน มันเป็นเรื่องผิดธรรมชาติก็ส่งผลให้เกิดโรคติดต่อต่าง ๆ ได้
ศีลข้อ4 งดเว้นจากการกล่าวเท็จ
การโหก พูดไม่จริง เป็นสิ่งที่ทำให้ไม่ได้รับข้อเท็จจริง
ศีลข้อ2 งดเว้นจากการขโมย
การเป็นคนดีที่มีศีลธรรม ข้อปฏิบัติ คือ การไม่ต้องการอยากได้ของคนอื่นมาเป็นของตน ส่งผลให้เกิดความเครียด ความอิจฉาริษยา ความเครียดก่อให้เกิดการเจ็บป่วยทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
ศีลข้อ5 งดเว้นจากการดื่มสุราและเมรัย
อันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท มีผลร้ายต่อสุขภาพของตนเองทำให้ร่างกายเกิดโรคได้ง่าย
ศีลข้อ1 งดเว้นจากการฆ่าสัตว์ ตัดชีวิต
ความเชื่อและความศรัทธาของผู้ที่นิยมบริโภคอาหารเจ คือ การกินผักกินไม้หลุดทำลายชีวิตสัตว์
หลักคำสอนในศาสนาพุธ
ศาสนา หมายถึง ข้อผู้กับระหว่างมนุษย์กับความจริงสูงสุดที่มนุษย์เชื่อเรื่องสำคัญในศาสนา
แก่นหรือสาระสำคัญของคำสอน
หลักศีลธรรมที่เป็นแม่แบบของจริยธรรมที่มนุษย์พึงปฏิบัติเพื่อนำชีวิตไปตามแนวทางที่ประเสริฐ
ความจริงสูงสุดเป็นพื้นฐานหรือที่มาของหลักคำสอน
หลักปฏิบัติ
จริยธรรม
ความกตัญญูกตเวที คือ การรู้จักบุญคุณและทดแทน
ศีลธรรม
หลักปฏิบัติศีลธรรม เป็นหลักคำสอนสำคัญของศาสนา
หลักโอวาทปาติโมกข์ คือ การไม่ทำความชั่วทั้งปวง การบำเพ็ญแต่ความดี การทำจิตให้สะอาดบริสุทธิ์
ศีล 5 เป็นหลักพื้นฐานของชาวพุทธ
ศีลข้อ 1 การงดเว้นจากการฆ่าสัตว์ตัดชีวิต
ศีลข้อ 2 การงดเว้นจากการลักขโมย
ศีลข้อ 3 การงดเว้นจากการประพฤติผิดในกาม
ศีลข้อ 4 การงดเว้นจากการพูดปด
ศีลข้อ 5 การงดเว้นจากการดื่มสุรา
หลักความจริงอันสูงสุด
กฎไตรลักษณ์ หมายถึง กฎธรรมชาติ
อนิจจัง คือ ความไม่เที่ยง ความไม่คงตัว เสื่อมสลาย
ทุกขัง คือ ความทุกข์ ถูกบีบคั้น ตั้งอยู่ไม่ได้
อนัตตา คือ ความไม่มีตัวตนที่แท้จริง
อริยสัจ 4 หมายถึง คำสอนของสมเด็จพระสัมมาสัมพุธเจ้า หรือความจริงอันประเสริฐ 4 ประการ
ทุกข์ คือ สภาพที่ทนได้ยาก ภาวะที่อยู่ในสภาพเดิมไม่ได้
สมุทัย คือ สาเหตุที่ทำให้เกิดทุกข์
นิโรธ คือ ความดับทุกข์
มรรค คือ แนวปฏิบัติที่นำไปสู่หรือนำไปถึงความดับทุกข์
ปฏิจสมุปบาท คือ กระบวนการของจิตในการเกิดขึ้นและดับไปของทุกข์
นิพพาน
ธรรมเป็นที่ระรับสังขารทั้งปวง
อสังขตธรรม เป็นการสิ้นไปแห่ง ราคะ โทรสะ โมหะ
เป็นความดับสนิทของตัฒหา ปล่อยวาง
ความคลายกำหนัด กำจัดความเมา ความกระหาย ความอาลัย
อายตนะ สิ่งนั้นมีอยู่ไม่ใช่ดินน้ำลมไฟ
พุทธศาสนากับการปฏิบัติการพยาบาล
เกิด แก่ เจ็บ ตาย เป็นทุกข์ของมนุษย์ พยาบลผู้ให้การดูแลหรือรักษา ต้องเข้าใจผู้ป่วยในความทุกข์ ปฏิบัติหน้าที่ในการดูแล เพื่อบรรเทาดับทุกข์ ตามความสามารถและความเหมาะสม
พุทธศาสนากับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม
การดูแลสุขภาพแบบองค์รวมนั้นมีมาตั้งแต่สมัยพุทธกาล พระพุทธเจ้าเป็นผู้ที่มีสุขภาพดี มีพระชนมายุ 80 พรรษา สามารถเผยแพร่ศาสนาวันหนึ่งประมาณ 16-20 ชั่วโมง พระพุทธเจ้ากับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม
การดูแลรักษาด้านจิตวิญญาณ
การดูแลรักษาด้านสังคม
การดูแลรักษาด้านจิตใจ
การดูแลรักษาด้านร่างกาย