Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักการดาเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อทางศาสนาพุทธ - Coggle Diagram
หลักการดาเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อทางศาสนาพุทธ
หลักคําสอนในพุทธศาสนา
ความจริงสูงสุดอันเป็นพื้นฐานหรือที่มาของหลักคําสอน
หลักศีลธรรมที่เป็นแม่แบบของจริยธรรม
แก่นหรือสาระสําคัญของคําสอน
หลักปฏิบัติจริยธรรม
ความกตัญญูกตเวที
การรู้จักบุญคุณและตอบแทน
หลักปฏิบัติศีลธรรม
โอวาทปาติโมกข์
ศีล 5
ศีลข้อ 1
ปาณาติปาตา เวรมณี
ไม่ฆ่าสัตว์
ศีลข้อ 2
อทินนาทานา เวรมณี
ไม่ขโมย
ศีลข้อ 3
กาเมสุ มิจฉาจารา เวรมณี
ไม่ประพฤติผิดในกาม
ศีลข้อ 4
มุสาวาทา เวรมณี
ไม่โกหก
ศีลข้อ 5
สุราเมรยมัชชปมาทัฏฐานา
งดเว้นจากการดื่มสุราและเมรัย
ความจริงสูงสุด
กฏไตรลักษณ์
ประกอบด้วยสภาวะ 3 ประการ
อนิจจัง
ความไม่เที่ยง
ทุกขัง
ความทุกข์ ถูกบีบคั้น
อนัตตา
ความไม่มีตัวตน
อริยสัจ
เหตุและผลของการเกิดแห่งทุกข์และวิธีการดับทุกข์
คําสอนของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
ปฏิจจสมุปบาท
กระบวนธรรมของจิต
การเกิดขึ้นและดับไปแห่งทุกข์
นิพพาน
ความดับสนิทของตัณหา ปล่อยวาง
ระงับสังขารทั้งปวง
การสิ้นไปแห่ง ราคะ โทสะ โมหะ
กําจัดความเมา ความกระหาย
ที่สิ้นสุดแห่งทุกข์
การปฏิบัติการพยาบาล
เกิด แก่ เจ็บ ตาย เป็นทุกข์ของมนุษย์
ทุกข์
อาการของโรค
ความวิตกกังวล
ภาวะเศรษฐกิจ
การปฏิบัติหน้าที่การดูแล
ต้องรู้จักทําใจให้สงบ
การดูแลสุขภาพแบบองค์รวม
ด้านร่างกาย
หมอชีวกโกมารภัจจ์ดูแลให้พระพุทธเจ้า
เสวยยาคูปรุงงา ข้าวสารถั่วเขียว
และให้ทรงสรงน้าร้อนละลายด้วยน้าอ้อย
ด้านจิตใจ
พระพุทธเจ้าทรงฟังพระมหาจุนทะสาธยาย
โพชฌงค์ที่เวฬุวัน แล้วหายจากอาการประชวร
ด้านจิตวิญญาณ
พรรษาสุดท้ายของพระพุทธเจ้าทรงประชวรหนักที่เวฬุคาม
เมืองเวสาลี เมื่อไกล้จะปรินิพพานทรงมีพระสติสัมปชัญญะไม่พรั่นพรึง
ด้านสังคม
อัครสาวกของพระพุทธเจ้า
คือพระโมกคัลลานะ
ดูแลรักษาพระสารีบุตร
นําผลการปฏิบัติศีล 5 มาเป็น
เครื่องมือในการดูแลสุขภาพ
ศีลข้อ 1
กินผักกินไม้หยุดทําลายชีวิตสัตว์
นิยมบริโภคอาหารเจ
ศีลข้อ 2
ไม่ต้องการอยากได้ของคนอื่นมาเป็นของตน
ศีลข้อ 3
การติดเชื้อเอชไอวี
ผู้ที่ประพฤติผิดศีธรรมในกาม
ผู้ที่รักร่วมเพศ
รักเพศเดียวกัน
ศีลข้อ 4
เป็นผู้ติดเชื้อแล้วไม่แจ้งความจริงกับภรรยาของตนเอง
ศีลข้อ 5
ผู้ดื่มแอลกอฮอล์มีผลร้ายต่อสุขภาพของตนเอง
ผู้ที่สูบบุหรี่มีผลร้ายต่อตนเองและผู้อื่น คนรอบข้าง
การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
กรรมอารมณ์
เวลาใกล้จะดับจิตอารมณ์จะมาปรากฏทางด้านจิตใจของผู้ใกล้จะตาย
กรรมนิมิต
เครื่องหมายของกรรมที่ตนได้กระทําไว้แล้ว
คตินิมิต
เครื่องหมายของภพภูมิที่จะเกิด
ความตายแนวทางพุทธ
ความตายเป็นทั้งจุดเริ่มต้นและสิ้นสุด
ความตายเป็นทั้งความแน่นอน และความไม่แน่นอน
ความตายเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นตลอดเวลาที่ยังมีชีวิตอยู่
ความตายเป็นทั้งวิกฤตและโอกาส
ความตายมีทั้งมิติทางกายภาพและทางจิตวิญญาณ
ผู้ป่วยสามารถฝึกจิตเองหรืออาจอาศัยสภาพแวดล้อมช่วย
ให้ระลึกถึงสิ่งที่ดี
พระรัตนตรัย
ความดีที่ได้ทํามา
หลัก 7 ประการของการให้
ความช่วยเหลือผู้ป่วยระยะสุดท้าย
การให้ความรัก ความเข้าใจ
ช่วยให้เขายอมรับความตายที่จะมาถึง
ช่วยให้เขาจดจ่อในสิ่งที่ดีงาม
ช่วยให้เขาปลดเปลื้องสิ่งค้างคาใจ
ช่วยปล่อยวาง
สร้างบรรยากาศเอื้อให้ใจสงบ
กล่าวคําอําลา
วิธีปฏิบัติที่ถูกต้องต่อความตาย
การแสดงถึงความงอกงามแห่งจิตใจมนุษย์
ขั้นที่ 1
ระลึกถึงความตาย
ขั้นที่ 2
เตือนใจไม่ให้ประมาท
ขั้นที่ 3
ให้รู้เท่าทันความตาย
การพยาบาล
ด้านร่างกาย
พักผ่อนให้เต็มที่
ทําให้ผู้ป่วยรู้สึกสุขสบายขึ้นและบรรเทาอาการเจ็บปวดได้
ด้านจิตใจและจิตวิญญาณ
อ่านหนังสือธรรมะให้ฟัง