บทที่ 3 เภสัชจลนศาสตร์
(Pharmacokinetics)
- ADME รวมกับ ขนาดยา เป็นสิ่งที่กำหนดถึงความเข้มข้นของยา
บริเวณที่ยาไปออกฤทธิ์เเละเป็นผลต่อเนื่องถึงความเเรงของฤทธิ์ยาที่
เกิดขึ้น เวลาที่ยาเริ่งออกฤทธิ์เเละระยะเวลาการออกฤทธิ์ของยาในร่างกาย
2.1 Pharmacokinetic processes
2 การให้ยาโดยการอมใต้ลิ้น
(Sublingual administration)
3 การให้ยาทางทวารหนัก
(Rectal Administration)
1 การให้ยาทางปาก
(Oral administration)
4 การให้ยาโดยการทาภายนอก
(Application to epithelial surfaces)
ยาจะถูกดูดซึมมากที่สุดที่ลำไส้เลล็ก
ปัจจัยที่มีผลต่อการดูดซึมผ่านทางเดินอาหาร ได้เเก่
- Gastrointestinal motility การทำงานของระบบทางเดินอาหาร
- Splanchnic blood flow การไหลเวียนของเลือดในระบบทางเดินอาหาร
- Particle size and formulation สูตรการตั้งตำรับยามีความสำคัญต่อการดูดซึมยา
- Physiochemical factor อาหารหรือยาบางชนิดมีคุณสมบัติรบกวนต่อการดูดซึมยา
- การดูดซึมบริเวณที่ให้ยาเข้าสู่กระเเสเลือด เป็นขั้นตอนสำคัญในกาารให้ยา ยกเว้นการฉีดเข้าเส้นเลือดดำ เช่นการดูดซึมผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ มีลักษณะดังนี้ High lipid solubility ,Small size, Non-ionized ยาที่มีคุณสมบัติต่างจากนี้ต้องใช้วิธีอื่น
- ยาจะถูกดูดซึมโดยตรง ถูกดูดซึมเข้า systemic circulation ได้โดยตรงโดยไม่ผ่าน portal circulationจึงไม่มีการผ่านขั้นตอน first pass metabolism
- กรณียาที่ต้องการ “rapid response”โดย gastric pH ทำให้ไม่สามารถให้โดยการรับประทานหรือยาที่ถูกmetabolize อย่างรวดเร็วที่ตับ
- ใช้ในกรณีที่ต้องการให้ออกฤทธิ์เฉพาะที่ การดูดซึมยาผ่านวิธีนี้จะไม่เเน่นอน เช่น Proctosedyl suppository
- ใช้กับยาที่ออกฤทธิ์เฉพาะบริเวณที่ทา
- ดูดซึมผ่านผิวหนัง
- เข้าสู่ systemic circulation เกิดขึ้นได้น้อยมาก แต่ก็มียาบางชนิด
ที่มี lipid solubilityสูงๆ จะสามารถดูดซึมเข้าสู่ systemic circulation ผ่านผิวหนังได้ - แผ่นแปะผิวหนัง (transdermal patch)
5 การให้ยาโดยการสูดดม
(Inhalation)
7 Bioavailability
- เพื่อให้ได้ plasma concentration ที่รวดเร็ว เพราะปอดมีพื้นที่ผิวมากและมีการไหลเวียนของเลือดมากนอกจากได้ผลทาง systemic effect แล้ว บริเวณหลอดลมเเละปอดโดยตรงเมื่อสูดดมจะเป็นผลดี เพราะช่วยลดการเกิด systemic side effect ลงได้
คือสัดส่วนของยาที่เข้าสู่ systemic circulation
- การรับประทานยาที่ดูดซึมได้จะเข้าสู่ portal circulationที่ตับก่อนเข้าสู่ systemic circulation ปริมาณยาที่เข้าสู่ systemic circulation ลดลงลำไส้ก็มีเอนไซม์ที่ทำลายยาได้
- ยาที่ถูกฉีดเข้าเส้นเลือดดำเข้าสู่ systemic circulation โดยตรง Bioavailability จึงเท่ากับปริมาณยาทั้งหมดทให้เข้าสู่เส้นเลือดดำ
ความสำคัญของการดูดซึม
- Onset = ระยะเวลาตั้งแต่เริ่มให้ยาจนถึงเวลาที่ยาเริ่มออกฤทธิ์
- Cmax = ระดับยาในพลาสมาสูงสุด
- Tmax = ระยะเวลาตั้งเเต่เริ่มให้ยาจนถึงเวลาที่ระดับยาในพลาสมาสูงสุด
- ผลของการรักษา Therapeutic effect
2.3 Metabolism or Biotransformation
2.2 Distribution
- Blood circulation to site of action
- การกระจายของยานั้นขึ้นกับ physiological factors และ
physicochemical properties ของยา
- ในช่วงแรกของการกระจายจะขึ้นกับ cardiac output และ
blood flow โดยที่อวัยวะที่มีเลือดไปเลี้ยงมาก (well
perfused organ)
- Phase I reaction : ปฏิกิริยา oxidation, reduction, และ hydrolysis
- Phase II reaction: ปฏิกิริยา conjugationเป็ นการเติม substituent groupเข้าไปยังโมเลกุลของยา โดยผลที่เกิดขึ้นมักจะเป็น
pharmacologically inactive และมี lipid soluble น้อยลงเเละถูกขับออกทางน้ำดีเเละปัสสาวะ
Factor affecting metabolism
- Age and Sex: ในเด็กแรกเกิดจะสามารถเปลี่ยนแปลงยาโดยเกิดปฏิกิริยาใน phase I reaction ได้เช่น Chloramphenicol--> gray baby syndrome
- Genetic polymorphisms: ความแตกต่างทางพันธุกรรม
- Disease : ความผิดปกติต่างๆ ของตับ
- Toxic substances: Alcohol etc.
Factors influencing distribution
- Permeability across barrier
- Drug binding
- Fat : water partition
2.4 Excretion
Druginteraction:
- Enzyme Induction การสังเคราะห์เอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับการ LOGOเปลี่ยนแปลงยาเกิดขึ้นได้เมื่อได้รับสารเคมีต่างๆ จากสิ่งแวดล้อมและยาบางชนิดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเป็น
active substances ก็อาจทำให้มีโอกาสเกิด toxicity ได้ยาหลายชนิด
มีฤทธิิ์เป็น Enzyme inducerสารเคมีต่างๆที่เป็ น enzyme inducer - Enzyme Inhibition การยับยั้งการเปลี่ยนแปลงของยาทำให้ระดับยา
เพิ่มสูงขึ้นทำให้ออกฤทธิ์ยาวนานMalnutrition: especially Phase II
ขาด amino acid หรือโปรตีนที่ใช้ในการ conjugation
- Routes: urine, feces, bile, milk, breath,sweat
- ยาอาจถูกขับออกนอกร่างกายทั้งในรูปเปลี่ยนเเปลงเเละไม่เปลี่ยนเเปลง
- อวัยวะหลักในการกำจัดยา คือ ไต ซึ่งสารที่เป็น polar compound
กำจัดออกได้ดีกว่าสารที่มี high lipid solubility
Basic clinical pharmacokinetics
- สมมติฐานพื้นฐานของ Clinical pharmacokinetics คือ การตอบสนองทา'เภสัชวิทยาหรือการเกิดพิษจากยา (Pharmacological or toxic response) มีความสัมพันธ์กับความเข้มข้นของยาในร่างกาย (ในเลือด)
- Clinical pharmacokinetics จะช่วยให้ทราบถึงความสัมพันธ์ของขนาดยาที่ให้เเละฤทธิ์ที่เกิดขึ้น
ขนาดยามาตรฐาน (standard dose)
- ได้จากการทดลองในอาสาสมัครที่ร่างกายสมบูรณ์ ปัจจัยทางสรีรวิทยาเเละพยาธิสรีรวิทยามีผลต่อPharmacokinetics ส่งผลต่อขนาดยาที่ใช้
- Pharmacokinetic parameter สำคัญในการปรับขนาดยา ได้เเก่
3 Design and optimization of dosage regimens
- Maintenance dose (MD) เป็นขนาดยาที่ให้เพื่อคงระดับยาใน plasmaภายใน steady state concentration
- Loading dose (LD) เป็นการให้ยาในขนาดสูงไปในช่วงเเรกเพื่อให้ระดับยาสูงถึงระดับที่ต้องการ
- loading dose นี้มีความสำคัญและจ าเป็ นในกรณียาที่มีค่า t 1/2 ยาวนานมากเพราะยาจะเกิดระดับคงที่ที่ steady state จะต้องใช้เวลา 3-4 t1/2
- การให้ loading dose ต้องคำนึงถึง Rate of administration ว่าจะก่อให้เกิด toxicity หรือไม่
1 Clearance
- การกำจัดยา Drug clearance (CL)
- Systemic clearance หรือ clearance ที่ได้จากการกำจัดยา
ทุกทางจะได้จาก CL
ของแต่ละ route รวมกันCLsys =CLrenal + Clliver + Clother - Clearance ของยาชนิดหนึ่งหมายถึง อัตราการกำจัดยาออกจาก
ร่างกายในทุกทาง ต่อความเข้มข้นของยาในเลือด หรือ plasma - CL บ่งบอกถึงปริมาตรของ biological fluid
- ส่วนมาก CL ของยาจะเป็ นสัดส่วนที่คงที่ในช่วงความเข้มข้นของระดับ
ยาในเลือดที่ใช้ในการรักษา - การกำจัดยาออกจึงเป็ นสัดส่วน (fraction) โดยตรงกับความเข้มข้นของยาหรือเรียกว่ามี “1st order kinetic”
- ส่วนการกำจัดยาที่ไม่เป็ นสัดส่วนโดยตรงกับความเข้มข้นของยากeจัดยาในปริมาณที่คงที่จัดเป็ นการก าจัดยาที่มีการอิ่มตัว
2 Volume of distribution
- Volume of distribution (Vd) หมายถึง ปริมาตรของของเหลวที่ต้องการ
ที่จะละลายยาทั้งหมดในร่างกายให้ได้ความเข้มข้นของยาเท่ากับความ
เข้มข้นของยาใน plasma
click to edit
6 การฉีดยาเข้าทางเส้นเลือดดำ
(Intravenous (IV) injection)
- เป็นวิธีการที่ให้ผลรวดเร็วเเละเเน่นอนที่สุด เมื่อยาเข้าสู่เส้นเลือดดำเเล้วจะเข้าสู่หัวใจห้องขวาบน-ล่าง ผ่านไปยังปอดเเละกลับเข้าสู่หัวใจห้องบนซ้าย-ล่าง เเละสูบฉีดไปยังsystemic circulation ทั่วร่างกาย