Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะสูดสำลักขี้เทาเข้าปอด (Meconium aspiration syndrome) - Coggle Diagram
ภาวะสูดสำลักขี้เทาเข้าปอด (Meconium aspiration syndrome)
ความหมาย
ภาวะหายใจลำบากที่เกิดจากการที่ทารกสูดสำลักขี้เทาซึ่งปนในน้ำคร่ำเข้าทางเดินหายใจ ปอด
มีความสัมพันธ์กับการขาดออกซิเจนของทารกขณะอยู่ในมดลูก หรือขณะคลอด
ทารกที่ได้รับออกซิเจนระหว่างอยู่ในครรภ์ไม่เพียงพอ เช่น GDM, PIH
พบบ่อยในทารกคลอดเกินกำหนดที่มีอายุครรภ์ตั้งแต่ 42 สัปดาห์ขึ้นไป
ทารกมีปัญหาสายสะดือถูกกด การคลอดท่าก้น ทารกน้ำหนักน้อย
สาเหตุ
เกิดจากการขาดออกซิเจนของทารกทำให้ทารกหายใจเอาขี้เทาที่ตนเองถ่ายไว้เข้าไป
อาการและอาการแสดง
หรือบางรายอาจหายใจเร็วมากกว่า 60 ครั้งต่อนาที
ปลายมือปลายเท้าและรอบปากเขียว
ขี้เทาจะไปอุดตามหลอดลมและถุงลมในปอดของทารก ทำให้ทารกหายใจเร็วกว่าปกติเล็กน้อย เป็นเวลา 2- 3 วันหลังคลอด
หน้าอกโป่ง เวลาหายใจเข้าออกหน้าอกจะบุ๋ม
ฟังปอดพบเสียง rales และ rhonchi เสียงลมหายใจเข้าเบาลง เสียงหัวใจค่อยลง เนื่องจากมีลมในช่องเยื่อหุ้มปอด(pneumothorax)
ภาพรังสีของปอดพบปอดทึบ พบสารน้ำในช่องเยื่อหุ้มปอด
สายสะดือมีสีเหลือง(yellowish staining)
อาการรุนเเรง
อาจใช้เวลาถึง 1-2 สัปดาห์
อาการไม่รุนเเรง
จะดีขึ้นมาภายใน24 – 72 ชั่วโมง
รายที่สูดสำลักขี้เทาเข้าไปมากอาจเสียชีวิตทันทีหลังคลอดหรือภายใน 24 ชั่วโมง
แนวทางการรักษา
ภายหลังการดูดขี้เทาในหลอดลม ควรใส่สายยางดูดขี้เทาจากกระเพาะอาหารด้วย
รายที่มี asphyxia ทำการดูดขี้เทาก่อนช่วยด้วยแรงดันบวก ดูดออกให้มากที่สุด
หากมีขี้เทาในน้ำคร่ำประกอบกับทารกหายใจช้า ความตึงตัวของกล้ามเนื้อไม่ดี เเละ HR <100 ครั้งต่อนาที
พิจารณาใส่ETT ดูดขี้เทาออก
งดอาหารและน้ำทางปาก ดูแลให้ 10% Dextros inwater ทางหลอดเลือดดำ
ดูดขี้เทาเเละน้ำคร่ำออกจากปากเเละจมูกของทารกให้มากที่สุดก่อนที่ทารกจะหายใจ
ตรวจ arterial blood gas
ให้ยาปฏิชีวนะ
บทบาทการพยาบาล
1.จัดให้ทารกนอนตะเเคงศีรษะต่ำเล็กน้อย หรือตะเเคงหน้าไปด้านใดด้านหนึ่ง
กระตุ้นให้ร้องและดูแลให้ออกซิเจน
รักษาร่างกายทารกให้อบอุ่น โดยจัดให้นอนใน radiant warmer อุณหภูมิ 36.5-37 องศาเซลเซียส
ให้ลูกสูบยางแดงหรือสาย suction ขนาดเล็ก ดูดขี้เทาและน้ำคร่ำจนกว่าจะหมด
บอกถึงอาการและความก้าวหน้าของการรักษาพยาบาลทารกให้มารดาและบิดาทราบ
สังเกตอาการผิดปกติโดยเฉพาะการหายใจ มากกว่า 60 ครั้งต่อนาที ให้รายงานแพทย์