Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเฝ้าระวังโรคและการสอบสวนทางวิทยาการระบาด - Coggle Diagram
การเฝ้าระวังโรคและการสอบสวนทางวิทยาการระบาด
การเฝ้าระวังทางวิทยาการระบาด
ความหมายของการเฝ้าระวัง แบ่งออกเป็น 3 ประการ
Public health surveillance คือการจัดเก็บ การวิเคราะห์และการแปลผลข้อมูลทางสาธารณะสุข จะดำเนินการอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง
Epidemiology surveillance คือการติดตามสังเกตและพิจารณาอย่างสม่ำเสมอและเต่อเนื่อง เพื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง
Disease surveillance คือการเฝ้าสังเกตอย่างต่อเนื่องเกี่ยวกับการกระจาย และแนวโน้มของอุบัติการณ์ของโรค โดยมีการรวบรวมข้อมูลอย่างเป็นระบบ
วัตถุประสงค์การเฝ้าระวัง
ให้ข้อมูลสำคัญเกี่ยวกับสถานการณ์ของปัญหาสุขภาพหรือปัญหาสาธารณะสุข
1.1 ทราบถึงสภาวะหรือลักษณะการเกิดโรคภัยต่างๆที่กระจายอยู่ในชุมชน
1.2 ทราบถึงรูปแบบการเกิดโรคในกลุ่มประชากร
1.3 ศึกษาและติดตามรูปแบบการเกิดโรคอย่างใกล้ชิด
1.4 ติดตามการเปลี่ยนแปลงของเชื้อก่อโรค
1.5 เฝ้าระวังพฤติกรรมทำให้ทราบถึงลักษณะของประชากรที่สัมพันธ์กับโรค
ให้ข้อมูลการดำเนินงานด้านสาธารณะสุข
ช่วยในการตรวจจับการเพิ่มขึ้นของจำนวนผู้ป่วยหรือสถานการณ์ที่ผิดปกติไป
นำข้อมูลจากการเฝ้าระวังไปใช้ประกอบในการวางแผนการดำเนินงาน
นำข้อมูลจากการเฝ้าระวังนำไปสู่การประเมินผลมาตรการในการควบคุมป้องกันโรค
ทำให้เจ้าหน้าที่สาธารณะสุขเข้าใจและอธิบายถึงสภาวะสุขภาพในชุมชนที่รับผิดชอบได้
รูปแบบของการเฝ้าระวัง มีทั้งหมด 5 รูปแบบ
active surveillance เป็นการเฝ้าระวังโดยผู้ศึกษาที่ทำการเฝ้าระวังเข้าไปรวบรวมข้อมูล หรือติดตามค้นหาโรคอย่างใกล้ชิดตลอดเวลา
passive surveillance เป็นการเฝ้าระวังโดยการกำหนดให้ผู้บริการตามสถานบริการสาธารณสุข เมื่อพบโรคที่อยู่ในข่ายการเฝ้าระวังให้ทำการบันทึกตามบัตรรายงาน แล้วรวบรวมส่งหน่วยงานที่รับผิดชอบ
sentinel surveillance เป็นระบบการเฝ้าระวังที่ทำการเฝ้าระวังเฉพาะบางพื้นที่ ไม่เน้นด้านความครอบคลุม
syndromic surveillance เป็นการเฝ้าระวังที่อาศัยการรายงาน อาการและอาการแสดงของผู้ป่วยเป็นรายๆ
event-based surveillance เผ็นการจัดระบบและรวบรวมข่าวสาร เกี่ยวกับเหตุกาณ์ที่อาจก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อสาธารณสุข
องค์ประกอบการเฝ้าระวัง
ความถูกต้องและเป็นตัวแทนของประชาชน
นิยามของสิ่งที่ทำการเฝ้าระวัง
ประชากรที่ทำการเฝ้าระวัง
วงจรของการเฝ้าระวัง
การรักษาความลับ
กระบวนการเฝ้าระวัง
การจัดเก็บข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูล
การแปลผลข้อมูล
การเผยแพร่ข้อมูลหรือการให้ข้อมูลย้อนกลับ
ระบบการดำเนินเฝ้าระวัง ประกอบไปด้วย
ข่ายงานเฝ้าระวังของประเทศไทย
ทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว
การเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล
องค์ประกอบการเฝ้าระวัง
ระบบเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ 5 กลุ่ม
ระบบเฝ้าระวังโรคติดต่อทั่วไป
ระบบเฝ้าระวังโรคเอดส์และวัณโรค
ระบบเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อ
ระบบเฝ้าระวังการบาดเจ็บ
ระบบการเฝ้าระวังโรคจากอาชีพและสิ่งแวดล้อม
องค์ประกอบการเฝ้าระวังแต่ละกลุ่มโรคใน 5มิติ
Determinant
Behavioral risk
Program response
Infection / Morbidity / Mortality / Disability
Abnormal event and outbreak
การสอบสวนทางวิทยาระบาด
ความหมายของระบาดมี 2 ความหมาย
เหตุการณ์ที่มีผลต่อสุขภาพของประชาชนตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป
เหตุหารณ์ที่มีผู้ป่วยจำนวน มากผิดปกติในช่วงเวลาที่ใกล้เคียงกัน
ความสำคัญและประโยชน์
Disease control
Disease prevention
Gaining unknown knowledge
Human capacity building
Evaluation of prevention system
ขนิดขอการสอบสวน
การสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย เป็นการหาข้อมูลรายละเอียดเกี่ยวกับโรคที่เป็นปัญหา มักจะเป็นโรติดต่ออันตรายหรือเป็นปัญหาสำคัญ
การสอบสวนการระบาด เป็นการดำเนินการหาข้อมูลในรายละเอียดของการเกิดโรคที่ผิดปกติในชุมชน
รูปแบบของระบาด
common source outbreak รูปแบบการระบาดแบบนี้ผู้ป่วยทั้งหมด หรือเกือบทั้งหมดได้รับเชื้อก่อโรคมาจากแหล่งเดียวกัน
Propagated source เป็นระบาดที่ผู้ป่วยมีการแพร่เชื้อต่อกันเรื่อยๆ โดยอาจเป็นแพร่เชื้อจากคนหนึ่งไปสู่อีกคนหนึ่งโดยตรง
ขั้นตอนในการสอบสวนโรค
การเตรียมการก่อนการสอบสวน
ยืนยันการวินิจฉัยโรค
ยืนยันว่ามีการระบาดจริง
การกำหนดนิยามหรือค้นหาผู้ป่วย
รวบรวมข้อมูลระบาดวิทยาเชิงพรรณนา
การตั้งสมมุติฐานของการระบาด
ทำการศึกษาวิทยาระบาดเชิงวิเคราะห์เพื่อพิสูจน์สมมุติฐาน
ศึกษาภาพแวดล้อมและสิ่งประกอบอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
ดำเนินการควบคุมและป้องกัน
สรุปสาเหตุและเขียนรายงาน