Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
8.1 การแจ้งข่าวร้าย (Breaking a bad news) - Coggle Diagram
8.1 การแจ้งข่าวร้าย (Breaking a bad news)
ข่าวร้าย
ข้อมูลที่ทำให้เกิดความรู้สึกหมดความหวัง
มีผลกระทบต่อความรู้สึก
การลุกลามของโรคไม่ตอบสนองต่อการรักษา
การกลับเป็นซ้ำของโรค
การสูญเสียญาติหรือคนเป็นที่รัก
ผู้แจ้งข่าวร้าย
การฝึกฝนและมีประสบการณ์วิธีการแจ้งข่าวร้าย
นหน้าที่สำคัญของแพทย์
กระทบต่อความสัมพันธ์ระหว่างผู้รักษากับผู้ป่วย
เป็นประเด็นด้านกฎหมายและจริยธรรม
มีข้อมูลที่ชัดเจน
การดำเนินโรค
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
ผลการรักษา
แผนการรักษา
ปฏิกิริยาจากการรับรู้ข่าวร้าย
Elisabeth Kubler-Ross
5 ระยะ
ระยะต่อรอง (Bargaining)
การต่อรองมักจะแฝงด้วยความรู้สึกผิดไว้ด้วย
จะต่อรองกับตัวเอง คนรอบข้างหรือแม้กระทั่งสิ่งศักดิ์สิทธิ์
รู้สึกว่าตนเองมีความผิดที่ยังไม่ได้ทำบางอย่างที่ค้างคา
ยังไม่ได้พูดอะไรกับใคร
ประเมินได้จากการพูด
“อยากเห็นลูกเรียนจบก่อน”
“ฉันรู้ว่ามันร้ายแรง คงรักษาไม่หาย แต่ฉันอยาก....”
ระยะซึมเศร้า (Depression)
ผู้ป่วยและญาติจะเริ่มรับรู้ว่าสถานการณ์ที่เกิดขึ้นเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้
ระดับความรุนแรงขึ้นอยู่กับ
ความเข้มแข็งของแต่ละบุคคล
สภาพแวดล้อมของแต่ละบุคคล
การแสดงออกอาจมีหลายลักษณะ
ตามลักษณะของบุคคล
ออกห่างจากสังคมรอบข้าง
เบื่อหน่าย เก็บตัว ไม่ค่อยพูดคุย ถามคำตอบคำ ไม่สนใจสิ่งแวดล้อม
อาจร้องไห้ หงุดหงิดง่าย คิดหมกมุ่นเกี่ยวกับความตาย
คิดว่าตนไร้ค่า ไม่มีความหมาย
มีการบกพร่องในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน และหน้าที่การงาน
ระยะโกรธ (Anger)
อารมณ์รุนแรง ก้าวร้าว และต่อต้าน
ความโกรธเป็นการเยียวยาความรู้สึกที่เกิดจากสูญเสีย
“ทำไมต้องเกิดขึ้นกับเรา”
“ไม่ยุติธรรมเลย ทำไมต้องเกิดกับเรา”
5.ระยะยอมรับ (Acceptance)
เริ่มยอมรับสิ่งต่างๆตามความเป็นจริง
มองเหตุการณ์อย่างพิจารณามากขึ้น
มองเป้าหมายในอนาคตมากขึ้น
ปรับตัว และเรียนรู้เพื่อให้ดำเนินชีวิตต่อไปได้
สิ่งสำคัญภายหลังจากการแจ้งข่าวร้าย
การให้ความช่วยเหลือ
สนับสนุนผู้ป่วยและครอบครัวให้
สามารถตัดสินใจเลือกแนวทางการดูแลผู้ป่วย
การให้ความร่วมมือและวางแผนร่วมกับทีมดูแล
การวางแผนการดูแลล่วงหน้า (Advanced care plan)
บันทึกการแสดงเจตนารมณ์ล่วงหน้าก่อนตาย
ระยะปฏิเสธ (Denial)
ระยะแรกหลังจากผู้ป่วยและญาติรับทราบข้อมูล
รู้สึกตกใจ
ช็อคและปฏิเสธสิ่งที่ได้รับรู้
ไม่เชื่อ ไม่ยอมรับความจริง
ไม่เชื่อผลการรักษา
อาจพูดในลักษณะ
“ไม่จริงใช่ไหม”
“คุณหมอแน่ใจรึเปล่าว่าผลการตรวจถูกต้อง”
บทบาทของพยาบาลภายหลังการแจ้งข่าวร้าย
จัดการกับอาการที่รบกวนผู้ป่วยเพื่อให้ได้รับความสุขสบาย
ควบคุมความปวด
ช่วยเหลือในสิ่งที่ผู้ป่วยต้องการ
ส่งเสริมให้ครอบครัวมีส่วนช่วยในการดูแลผู้ป่วย
สร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้ป่วยและครอบครัว
ประเมินการรับรู้ของครอบครัว
สอบถามความรู้สึกและความต้องการการช่วยเหลือ
รับฟังผู้ป่วยและญาติด้วยความตั้งใจและเห็นใจ
เปิดโอกาสให้ได้ซักถามข้อสงสัย
ให้ความช่วยเหลือประคับประคองจิตใจ
ให้ผ่านระยะเครียดและวิตกกังวล
ในระยะโกรธ ควรยอมรับพฤติกรรมทางลบของผู้ป่วยและญาติ
ไม่บีบบังคับให้ความโกรธลดลงในทันที
ให้โอกาสในการระบายความรู้สึก
ควรให้ความเคารพผู้ป่วย
เข้าใจ เห็นใจ ไวต่อความรู้สึกและความต้องการ
ปรึกษาแพทย์เกี่ยวกับข้อมูล
การดำเนินโรค
แนวทางการรักษา
อธิบายให้ทราบถึงสิ่งที่กำลังจะเกิดขึ้นกับผู้ป่วย
ให้ข้อมูลที่เป็นความจริงเกี่ยวกับพยาธิสรีรวิทยาของโรค
การดำเนินโรค
อาการที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม
ให้ความหวังที่เป็นจริง
สะท้อนคิดเกี่ยวกับการอยู่กับปัจจุบันและทำปัจจุบันให้ดีที่สุด
สะท้อนคิดให้ครอบครัวค้นหาเป้าหมายใหม่ในชีวิตอย่างมีความหมาย
ครอบครัวใช้ชีวิตต่อไปอย่างมีคุณค่า
มีความหมายในหนทางที่เป็นจริง
ตระหนักว่าการมีชีวิตอยู่เพื่อใครบางคน หรือเพื่ออะไรบางอย่าง
ให้ความมั่นใจกับผู้ป่วยและญาติ
แพทย์และทีมสุขภาพทุกคนจะให้การดูแลอย่างดีที่สุด
ทำหน้าที่แทนผู้ป่วยในการเรียกร้อง
ปกป้องผู้ป่วยให้ได้รับประโยชน์
ปกป้องศักดิ์ศีรความเป็นมนุษย์
ตามหลักจริยธรรมในการปฏิบัติการพยาบาล
ให้ผู้ป่วยและญาติมีส่วนร่วมในการตัดสินใจการรักษา
ช่วยเหลือในการปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาตามความเชื่อ
ให้ผู้ป่วยมีความผาสุกทางจิตใจ เผชิญกับสิ่งที่ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้
ให้การช่วยเหลือในการจัดการสิ่งที่ค้างคาในใจ
ให้ผู้ป่วยจากไปอย่างสงบ
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ไม่สามารถยอมรับสภาพความเป็นจริง
เมื่อถึงวาระสุดท้ายของชีวิต
หมดกำลังใจในการต่อสู้กับโรคที่เป็น
เนื่องจากไม่มีความหวังในการรักษา
มีความเครียดสูง
เนื่องจากได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคร้ายแรง
ท้อแท้ ผิดหวังต่อโชคชะตา
เนื่องจากคิดว่าถูกพระเจ้าลงโทษหรือไม่ได้รับความช่วยเหลือจากสิงศักดิ์สิทธิ์
มีภาวะซึมเศร้า
เนื่องจากไม่สามารถแสดงบทบาทหัวหน้าครอบครัวได้จากการเจ็บป่วยรุนแรง
กลัวตาย
การเผชิญปัญหาและการปรับตัวของครอบครัวไม่มuประสิทธิภาพ
เนื่องจากครอบครัวต้องเผชิญกับการเจ็บป่วย
รุนแรงของผู้ป่วย
เศร้าโศกทุกข์ใจ
เนื่องจากสูญเสียบุคคลที่มีความสำคัญต่อตน
สัมพันธภาพทางสังคมไม่เหมาะสม
(ก้าวร้าว ด่าว่า เอะอะโวยวาย)
เนื่องจากไม่สามารถยอมรับความเจ็บป่วยรุนแรงได้
หวาดกลัวต่อสิ่งต่างๆ
เนื่องจากขาดสิ่งยึดเหนี่ยวทางด้านจิตใจ