Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลทางสูติกรรม - Coggle Diagram
การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลทางสูติกรรม
การใช้ยาในระยะตั้งครรภ์
Terbutaline (Bricanyl 0.5 mg/amp)
ข้อบ่งใช้
ใช้ในกรณีมารดาอายุครรภ์ 28-36 สัปดาห์ ที่มีอาการเจ็บครรภ์คลอด (เจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด มีการหดรัดตัวของมดลูกอย่างน้อย 4 ครั้งใน 20 นาที โดยปากมดลูกเปิดน้อยกว่า 3 เซนติเมตร)
วิธีการใช้ยา
loading dose ด้วย Bricanyl 0.25 mg (1/2 amp) IV stat
maintenance dose ด้วย Bricanyl 2.5 mg (5 amp) ผสมใน 5% D/W 500 ml (1 ml = 5 ug)
เริ่มให้ IV drip 10 ug/min (30 µd/min) ปรับเพิ่มยาครั้งละ 5 ug/min (15 µd/min) ทุก 10 นาที
อาการข้างเคียง
1.ใจสั่น (Palpitations) ชีพจรเต้นเร็ว (Tachycardia)
ปวดศีรษะ
น้ำท่วมปอด (Pulmonary edema)
มีความผิดปกติของการเผาผลาญ (Metabolic problems)
ตกเลือดหลังคลอดเนื่องจากภาวะ Uterine atony
การใช้ยา dexamethasone
Dexamethasone เป็นยาในกลุ่ม corticosteroids ใช้ในสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะการเจ็บครรภ์คลอดก่อน าหนดเพื่อกระตุ้นการสร้างสาร surfactant ในถุงลมปอดของทารกช่วยป้องกันภาวะ respiratory distress syndrome ในทารกคลอดก่อนก าหนดได้ โดยให้ในขนาด 6 mg IM ทุก 12 ชม. จนครบ 4 ครั้ง
การใช้ยา MgSo4
ใช้รักษาภาวะความดันโลหิตสูงในสตรีตั้งครรภ์เพื่อป้องกัน
อาการชัก (anticonvulsant) ในสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะ severe-preeclampsia
แนวทางในการให้ยา
loading dose: MgSo4 4-6 g ในสารน้ า 100 มล. ให้ทางหลอดเลือดดำ 15-20 นาที หรือ ให้ 10% MgSo4 4 g โดยเจือจางจาก 50% MgSo4 4 g ( 1 amp = 1 g= 2 ml) 8 ml ผสมกับ sterile water 32 ml)
หลังจากนั้นให้ 50% MgSo4 1-2 g/hr โดยผสมในสารน้ำ isotonic solution เช่น 5%D/N/2, NSS, LRI หรือฉีด 50% MgSo4 10 g (20 ml) เข้าทางกล้ามเนื้อสะโพก (gluteus maximus) ข้างละ 5 g(10 ml) และ 5 g IM ทุก 6 ชม. จนครบ 24 ชม.
หลักการพยาบาลก่อนและหลังให้ยา
ติดตามประเมินสัญญาณชีพทุก 30 นาที- 1 ชม. หรือทุก 2-4 ชม.
ประเมินภาวะ hyperreflexia หรือ hyporeflexia จาก deep tendon reflex
ติดตามประเมินปริมาตรน้ าเข้า ออกจากร่างกาย โดยเฉพาะปัสสาวะต้องไม่น้อยกว่า 25-30 มล./ชม.
ควรให้ยา MgSo4 ในสารละลาย ร่วมกับการให้สารละลาย อีกในขวด (piggyback) เพื่อสามารถหยุด
ให้ยาได้ทันทีเมื่อมีอาการไม่พึงประสงค์เกิดขึ้น
ติดตามระดับความเข้มข้นของ MgSo4
ในเลือดโดยระดับยาในขนาดของการรักษ
กรณีได้รับยา MgSo4 เกินขนาดต้องให้ยา 10% calcium gluconate เพื่อต้านการออกฤทธิ์ของ
MgSo4
การใช้ยาในระยะคลอด
ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
Oxytocin
ใช้ในกรณี
ยุติการตั้งครรภ์
ป้องกันและรักษาภาวะตกเลือดหลังคลอด (Postpartum Hemorrhage)
การชักนำการคลอด ( Induction of labour) และ การกระตุ้นการเจ็บครรภ์
ทดสอบสุขภาพทารกในครรภ์
ข้อห้ามใช้
ไม่ควรใช้ในมารดาที่อายุครรภ์น้อยกว่า 24 สัปดาห์
ทารกท่าผิดปกติ, fetal distress
มารดาที่มีบุตร 5 คนขึ้นไป
มารดาที่มีรกเกาะต่ำ
มารดาที่เคยผ่าตัดคลอดบุตร
การพยาบาล
1.แจ้งให้ผู้คลอดทราบถึงวัตถุประสงค์และความจำเป็นที่จะต้องให้ยาเพื่อชักนำการคลอดเพื่อให้ผู้คลอดให้ความร่วมมือในการรักษาพยาบาล
2.แนะนำให้ผู้คลอดเข้าห้องน้ำทำความสะอาดร่างกายและขับถ่ายปัสสาวะอุจจาระให้เรียบร้อย
3.ให้ยาหยดเข้าทางหลอดเลือดดำโดยให้สารละลายอีกขวดหยดควบคู่กับยาเพื่อเปิดเส้นเลือดไว้ในกรณีที่จำเป็นต้องหยุดให้ยาทันที
4.ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกทุก 15 นาทีและปรับขนาดยาเพิ่มขึ้นครั้งละ 5 drop/min ทุก 15-30 นาที จนมดลูกหดรัดตัวดีคือหดรัดตัวห่างทุก 2-3 นาที
5.ประเมินเสียงหัวใจของทารกในครรภ์ทุก 15 นาที ถ้าพบว่าหัวใจทารกในครรภ์ผิดปกติช้ากว่า 100 ครั้ง/นาทีหรือเร็วกว่า 160 ครั้ง/นาที
ตรวจและบันทึกสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง
การใช้ยา pethidine
ใช้เพื่อบรรเทาอาการเจ็บครรภ์ใน
ระยะคลอด โดยให้ในอัตรา 12.5-50 mg intravenous หรือ 50-100 mg intramuscular ทุก 2-4 ชั่วโมง
หลักการพยาบาลหลังการให้ยา
ประเมินอาการคลื่นไส้ อาเจียน และการกดการหายใจ
เฝ้าระวังการกดหายใจในทารกซึ่งอาจเกิดขึ้นได้ หลังฉีดยา pethidine 3-5 ชั่วโมง
ติดตามประเมินสัญญาณชีพหลังฉีดยา 15 นาที, 30 นาที -1 ชั่วโมง
Prostaglandins
ที่นิยมใช้ในการชักนำการคลอดเพราะช่วยกระตุ้นให้มดลูกหดรัดตัวดีและทำให้ปากมดลูกนุ่มเปิดขยายได้ง่าย
รับประทานยา 50-100 mcg ทุก 3-6 ชั่วโมง จนกระทั่งมดลูกมีการหดรัดตัวแรงเพียงพอ
ข้อบ่งชี้
ทำให้ปากมดลูกนุ่มและเปิดกว้างขึ้นก่อนการทำแท้งและก่อนก่อให้เกิดการเจ็บครรภ์
ภาวะแทรกซ้อนต่อมารดาและทารก
คลื่นไส้อาเจียน, ท้องเดิน, หนาวสั่น,
การพยาบาล
1.แจ้งให้ผู้คลอดทราบถึงวัตถุประสงค์และความจำเป็นที่จะต้องให้ยาเพื่อชักนำการคลอดหรือเพื่อป้องกันการตกเลือดหลังคลอด
2.ซักประวัติการมีโรคประจำตัวของผู้คลอดก่อนให้ยาเพื่อประเมินว่ามีข้อห้ามในการให้ยาหรือไม่
3.ตรวจวัดสัญญาณชีพอย่างน้อยทุก 4 ชั่วโมง
4.การบริหารยาทางช่องคลอด แนะนำให้นอนหงายอย่างน้อย 30 นาที
5.บันทึกการหดรัดตัวของมดลูกและอัตราการเต้นของหัวใจทารกทุก 30 นาที
6.ภายหลังให้ยาเหน็บ misoprostal ทางช่องคลอดแล้ว 4 ชั่วโมง
ห้ามใช้ในกรณี
มารดาเป็นโรคปอด, หอบหืด, ความดันโลหิตสูง, โรคต้อหิน, โรคตับ, ไตวาย, ผู้คลอดที่มีประวัติเคยผ่าตัดที่ตัวมดลูก, ครรภ์แฝด, ตั้งครรภ์มากกว่า 4 ครั้ง