Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักการดำเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อทางศาสนาพุทธ - Coggle Diagram
หลักการดำเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อทางศาสนาพุทธ
หลักคำสอนในพุทธศาสนา
เรื่องสำคัญในศาสนา
ความจริงสูงสุดอันเป็นพื้นฐานหรือทมี่ าของหลักคาสอน
แก่นหรือสาระสาคัญของคาสอน
หลักศีลธรรมทเี่ ป็นแม่แบบของจริยธรรมทมี่ นุษย์พึงปฏิบัติ เพื่อนาชีวิตไปตามแนวทางที่ประเสริฐ
หลักปฏิบัติจริยธรรม
ความกตัญญูกตเวที
การรู้จักบุญคุณและตอบแทน อันเป็นหลักธรรมพื้นฐานทัว่ ไปของมนุษย์
หลักปฏิบัติศีลธรรม
เป็นหลักคำสอนสาคัญของศาสนา
ศีล 5
เป็นหลักปฏิบัติพื้นฐานของชาวพุทธ
ศีลข้อ 1
ปาณาติปาตา เวรมณี งดเว้นจากการทาชีวิตสัตว์ให้ตกล่วงไป
ศีลข้อ 2
อทินนาทานา เวรมณี งดเว้นจากการถือเอาของที่เจ้าของมิได้ให้
ศีลข้อ 3
กาเมสุ มิจฉาจารา เวรมณี งดเว้นจากการประพฤติผิดในกาม
ศีลข้อ 4
มุสาวาทา เวรมณี งดเว้นจากการกล่าวเท็จ
ศีลข้อ 5
สุราเมรยมัชชปมาทัฏฐานา เวรมณี งดเว้นจากการดื่มสุราและเมรัย อันเป็นทตีั่ง้ แห่งความประมาท
กฏไตรลักษณ์ (The Three Characteristics of Existence)
อนิจจัง
ความไม่เที่ยง ไม่คงตัว เสื่อมสลาย
ทุกขัง
ความทุกข์ ถูกบีบคัน้ ไม่สมอยาก ตัง้ อยู่ไม่ได้
อนัตตา
ความไม่มีตัวตนที่แท้จริง
อริยสัจ (The Four Noble Truths)
เป็นเหตุและผลของการเกิดแห่งทุกข์และวิธีการดับทุกข์ คือการไปสู่นิพพาน
ปฏิจจสมุปบาท
กระบวนธรรมของจิต ในการเกิดขึ้นและดับไปแห่งทุกข์ ใช้ในการปฏิบัติเพื่อการดับไปแห่งทุกข์
นิพพาน
เป็นความดับสนิทของตัณหา ปล่อยวาง สลัดทิ้งโดยสิ้นเชิงซึ่งตัณหา
ธรรมเป็นทรี่ ะงับสังขารทั้งปวง สิ้นตัณหา
อสังขตธรรม เป็นการสิ้นไปแห่ง ราคะ โทสะ โมหะ
ความคลายกาหนัด กาจัดความเมา ความกระหาย
พุทธศาสนากับการปฏิบัติการพยาบาล
การปฏิบัติหน้าที่ในการดูแล เพื่อการบรรเทา/ดับทุกข์ ตามความสามารถและความเหมาะสม
ผู้ป่วยต้องรู้จักทาใจให้สงบ ร่วมมือกับผู้ให้การดูแล/รักษา เพื่อทาให้ทุกข์ บรรเทาเบาบาง
พุทธศาสน์กับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม
การดูแลรักษาด้านร่างกาย
ตรียมยาที่ประณีตด้วยการอบก้านอุบลด้วยยาต่าง ๆ สามก้านแล้วนาไปถวายพระผู้มีพระภาคเจ้าพร้อมทั้งอธิบายวิธีเสวย
การดูแลรักษาด้านจิตใจ
ท่านพระมหาจุนทะแสดงจบลงพระพุทธเจ้าทรงหายจากอาการประชวร
การดูแลรักษาด้านจิตวิญญาณ
พระองค์ได้จัดการและใช้พลังเหล่านี้ในพระพุทธจริยาที่มีอยู่ประจาวันอยู่แล้วอย่างไรก็ตามการที่พระพุทธองค์ดารงชีวิตอย่างถูกต้อง กายจิตปกติ แม้เมื่อพระองค์ทรงประชวรก็หายได้อย่างรวดเร็ว
การดูแลรักษาด้านสังคม
พอกายเจ็บป่วย ไม่สบาย คนทั่วไปก็มักจะพาลจิตใจไม่สบาย เศร้าหมอง ไปด้วย
การนำผลการปฏิบัติศีล 5 มาเป็นเครื่องมือในการดูแลสุขภาพ
ศีลข้อ 1 ปาณาติปาตา เวรมณี งดเว้นจากการทาชีวิตสัตว์ให้ตกล่วงไป
การบริโภคพืชผัก ก็ควรต้องเลือกผักอินทรีย์ หรือผัดปลอดสาร
ความเชื่อและความศรัทธาของผู้ทนีิ่ยมบริโภคอาหารเจ
ศีลข้อ 2 อทินนาทานา เวรมณี งดเว้นจากการถือเอาของที่เจ้าของมิได้ให้
การไม่ต้องการอยากได้ของคนอื่นมาเป็นของตน
ส่งผลให้เกิด
ความเครียด
ความอิจฉาริษยา
อาจถึงขั้นร้ายแรง คือ การรับโทษทางกฏหมาย
ศีลข้อ 3 กาเมสุ มิจฉาจารา เวรมณี งดเว้นจากการประพฤติผิดในกาม
สาเหตุของการเกิดโรคทางเพศสัมพันธุ์ที่ยังเป็นปัญหาสุขภาพของทัว่ โลก
ผู้ที่ประพฤติผิดศีธรรมในกาม
ผู้ที่รักร่วมเพศ รักเพศเดียวกัน มันเป็นเรื่องผิด
ธรรมชาติ ก็ส่งผลให้เกิดโรคติดต่อต่าง ๆ ได้
ศีลข้อ 4 มุสาวาทา เวรมณี งดเว้นจากการกล่าวเท็จ
การโกหก พูดไม่จริง เป็นสิ่งที่ทำให้ไม่ได้รับข้อเท็จจริง
ศีลข้อ 5 สุราเมรยมัชชปมาทัฏฐานา เวรมณี งดเว้นจากการดื่มสุราและเมรัย
มีผลร้ายต่อสุขภาพของตนเอง
โรคมะเร็งปอดที่มีสาเหตุมาจากการเป็นผู้สูบบุหรี่มือสอง
หลัก 7 ประการของการให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยระยะท้าย
การให้ความรัก ความเข้าใจ ผู้ป่วยใกล้ตายมักจะมีความกลัวหลายอย่าง
ช่วยให้เขายอมรับความตายที่จะมาถึงการพูดให้เขายอมรับความตายที่จะมาถึงการพูดจา ให้เขายอมรับความตายเป็นศิลปะ
ช่วยให้เขาจดจ่อในสิ่งที่ดีงาม
ช่วยให้เขาปลดเปลื้องสิ่งค้างคาใจ
ช่วยปล่อยว่างสิ่งต่าง ๆ แม้บางคนอาจไม่มีสิ่งค้างคาใจที่เป็นกุศล
สร้างบรรยากาศที่เอื้อให้ใจสงบ
อาจพูดขอบคุณสิ่งดีๆ ที่เขาทำให้กับทุกคน หรือแนะนำให้เขาปล่อยวาง เตรียมตัวเตรียมใจ ระลึกถึงพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์และขอขมาเจ้ากรรมนายเวร
การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองแนวทางพุทธศาสน์
กรรมอารมณ์
อารมณ์ของกรรมที่บุคคลได้กระทาไว้แล้ว ดีก็ตามไม่ดีก็ตาม เวลาใกล้จะดับจิต มาปรากฏทางด้านจิตใจของผู้ใกล้จะตาย
กรรมนิมิต
เครื่องหมายของกรรมที่ตนได้กระทาไว้แล้ว ดีก็ตาม ไม่ดีก็ตาม ในเวลาใกล้จะดับ จิตกรรมดีและกรรมชั่วที่ได้กระทำไว้
คตินิมิต
เครื่องหมายของภพภูมิที่จะเกิด มาปรากฏให้เห็น ในเวลาเมื่อใกล้จะตายถ้าจะไปเกิดในอบายภูมิมี นรก เปรต อสุรกาย ดิรัจฉาน
ความตายตามแนวทางพุทธศาสนา มีความเข้าใจ ดังนี้
ทุกคนต้องตาย แต่ที่ไม่แน่นอน คือ ไม่ทราบว่าจะตายเมื่อไร ที่ไหน ด้วยโรคอะไร
ความตายเป็นทั้งจุดเริ่มต้นและสิ้นสุด
ความตายเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นตลอดเวลาทยีั่งมีชีวิตอยู่
เป็นวิกฤตทางกาย และเป็นโอกาสทางจิตวิญญาณมีโอกาสที่จะไปสู่ความหลุดพ้นหรือนิพพานได้
ความตายมีทั้งมิติทางกายภาพและทางจิตวิญญาณ
การประคองรักษาจิตให้สงบเป็นปกติท่ามกลางสภาพความเจ็บป่วยทุกข์ทรมาน
การตายที่ดีทางพระพุทธศาสนาไม่ใช่ตายอย่างไร สภาพแบบไหน แต่อยู่ที่สภาพจิตก่อนตายว่าเป็นอย่างไร
หลักการและแนวคิดในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
ต้องดูแลผู้ป่วย และครอบครัวทุก ๆ ด้าน
ต้องเริ่มตั้งแต่แรกทั้งผู้ป่วยและครอบครัว
สิทธิของคนใกล้ตายต้องรับรู้ว่าตนเองเป็นอะไรทำอะไร ได้แค่ไหน ต้องมีการสื่อสารอย่างเหมาะสมกับคนไข้แต่ละราย ทางเลือกของการรักษา
การใส่อุปกรณ์ เอาออกเพื่อให้คนไข้เสียชีวิต
การทางานเป็นทีม
การดำเนินของโรคทาให้เกิดเหตุการณ์ การเตรียมรับมือจะวางแผนจัดการอย่างไร
การบรรเทาความทุกข์ทรมานในผู้ป่วยระยะสุดท้าย
วัตถุประสงค์การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
ลดความทุกข์ทรมาน
ทากิจวัตรสาคัญเท่าที่ทำได้
เป็นตัวของตัวเอง
อยู่อย่างมีคุณค่าในช่วงสุดท้ายของชีวิต
การพยาบาลผู้ป่การพยาบาลด้านร่างกาย
การพยาบาลด้านร่างกาย
ควรให้ผู้ป่วยในระยะนี้พักผ่อนให้เต็มที่
จมูกแห้ง หมัน่ ทาความสะอาดและรักษาความชุ่มชื้นไว้
ดวงตาแห้ง ให้หยอดตาด้วยน้าตาเทียม
การพยาบาลด้านจิตใจและจิตวิญญาณ
ผู้ที่อยู่ใกล้ชิด(พยาบาล) ควรให้โอกาสคนใกล้ตายได้แสดงความรู้สึกและความต้องการโดยพูดแต่สงิ่ ดีงามเพื่อการระลึกถึงคุณงามความดี บุญบารมีที่ได้กระทามาในอดีต
สวดมนต์เบา ๆ ให้ฟัง เพื่อส่งให้ตายดี เตือนสติให้มีสติไม่หลงตาย