Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลสุขภาพแบบข้ามวัฒนธรรม - Coggle Diagram
การดูแลสุขภาพแบบข้ามวัฒนธรรม
1.3 วัฒนธรรมการดูแลสุขภาพและการแสวงหาการรักษาของประชาชนในภูมิภาคต่างๆของโลก
1.3.2 ประเภทของวัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพ
1) วัฒนธรรมการดูแลสุขภาพในสภาวะปกติ
วัฒนธรรมเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพ
วัฒนธรรมเกี่ยวกับการป้องกันโรค
2) วัฒนธรรมการดูแลสุขภาพในสภาวะเจ็บป่วย
วัฒนธรรมเกี่ยวกับการรักษาโรค
วัฒนธรรมเกี่ยวกับการฟื้นฟูสมรรถภาพ
1.3.1 แนวคิดเกี่ยวกับวัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพ
วัฒนธรรมการดูแลสุขภาพ
ฟื้นฟูสุขภาพให้เข้าสู่ภาวะปกติ
ป้องกันไม่ให้เกิดการเจ็บป่วยหรือพิการ
ส่งเสริมสุขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ
ดูแลรักษาสุขภาพเมื่ออยู่ในภาวะเจ็บป่วยเป็นโรค
1.3.3 ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพ
Awareness
การตระหนักรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรม
หากบุคลากรสุขภาพ (พยาบาล) ยังไม่เข้าใจ ในวัฒนธรรมตนเอง
ก็มีโอกาสที่จะเกิดพฤติกรรมการบริการ ที่ไม่เหมาะสมต่อผู้ใช้บริการต่างวัฒนธรรมได้
Skill
การมีทักษะเกี่ยวกับวัฒนธรรม
Knowledge
การมีองค์ความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรม
องค์ความรู้เหล่านี้สามารถศึกษาได้จาก ศาสตร์ต่าง ๆ
องค์ความรู้พื้นฐานทางวัฒนธรรมยังรวมไปถึงลักษณะเฉพาะ
ทางด้านร่างกาย ชีววิทยา และสรีรวิทยาที่มีความแตกต่างกันในแต่ละกลุ่มชาติพันธุ์
Encounte
ความสามารถในการเผชิญและจัดการกับวัฒนธรรม
การหาประสบการณ์โดยการเข้าไปอยู่ร่วม ในสังคมต่างวัฒนธรรม
Desire
ความปรารถนาที่จะมีสมรรถนะทางวัฒนธรรม
เป็นขั้นที่สูงที่สุดของสมรรถนะทางวัฒนธรรม
ความหมายของวัฒนธรรม (Culture)
1) วัฒนธรรมเป็นความคิดร่วม (Shared ideas)
2) วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่มนุษย์เรียนรู้ (Culture is learned)
3) วัฒนธรรมมีพื้นฐานมาจากการใช้สัญลักษณ์ (Symbol)
4) วัฒนธรรมเป็นองค์รวมของความรู้และภูมิปัญญาทำหน้าที่ตอบสนองความต้องการขั้นพื้นฐานของ
มนุษย์
5) วัฒนธรรมคือกระบวนการที่มนุษย์นิยามความหมายให้กับชีวิตและสิ่งต่างๆ
6) วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่ไม่หยุดนิ่ง มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
สังคมวิทยาได้จำแนกวัฒนธรรมออกเป็น 2 ประเภท
1) วัฒนธรรมทางวัตถุ (material culture)
สิ่งของหรือวัตถุอันเกิดจากความคิดและการ
ประดิษฐ์ขึ้นมาของมนุษย์
ถ้วย ชาม จาน ช้อน ส้อม ตึกรามบ้านช่องและถนนหนทาง
2) วัฒนธรรมที่ไม่ใช่วัตถุ (non-material culture)
วัฒนธรรมที่แสดงออกได้โดยทัศนะ
ประเพณี ขนบธรรมเนียม การปฏิบัติสืบต่อกันมา
องค์ประกอบของวัฒนธรรม
1) องค์วัตถุ (Material) ทั้งที่เป็นเครื่องมือและสัญลักษณ์
(Instrumental And Symbolic Objects)
2) องค์การหรือสมาคม (Organization หรือ Association)
3) องค์พิธีหรือพิธีการ (Usage หรือ Ceremony)
4) องค์มติหรือมโนทัศน์ (Concepts)
ความสำคัญของวัฒนธรรม
1) วัฒนธรรมเป็นเครื่องกำหนดความเจริญหรือความเสื่อมของสังคม
2) การศึกษาวัฒนธรรมจะทำให้เข้าใจชีวิตความเป็นอยู่
ค่านิยมของสังคมและความเชื่อถือของบุคคลได้อย่างถูกต้อง
3) ทำให้มีความรู้สึกเป็นพวกเดียวกันและให้ความร่วมมือกันได้
4) ทำให้เกิดความสงบเรียบร้อยในสังคม เพราะวัฒนธรรมคือกรอบหรือแบบแผนของ การดำรงชีวิต
5) ทำให้มีพฤติกรรมเป็นแบบเดียวกัน
6) ทำให้เข้ากับคนพวกอื่นในสังคมเดียวกันได้
7) ทำให้มนุษย์มีสภาวะที่แตกต่างจากสัตว์
คุณค่า ความเชื่อ ค่านิยมทางสังคมที่มีผลต่อหลักการในการดำเนินชีวิต
ประเภทของความเชื่อ
1) ความเชื่อในสิ่งปรากฏอยู่จริง
น้ำทะเลมีรสเค็ม
2) ความเชื่อขั้นพื้นฐานของบุคคล มี 2 ลักษณะ
เกิดจากประสบการณ์ตรง
เกิดจากการ
แลกเปลี่ยนพบปะสังสรรค์
3) ความเชื่อแบบประเพณี
ในภาคเหนือเชื่อในเรื่องเกี่ยวกับผี
4) ความเชื่อแบบเป็นทางการ
ความเชื่อที่มีต่อหลักคำสอนในพระพุทธศาสนาเรื่องการมีสติ
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเชื่อ
1) ปัจจัยทางด้านจิตวิทยา
การรับรู้ และการเรียนรู้
2) ปัจจัยทางสังคมและวัฒนธรรม
การขัดเกลาทางสังคม
การควบคุมทางสังคม
การปฏิสัมพันธ์
ทางสังคม
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม
3) ปัจจัยทางด้านบุคคล
ศาสนา อายุ เพศ การศึกษา อาชีพ
ความเชื่อเกี่ยวกับสาเหตุของการเกิดโรคและวิธีการดูแลสุขภาพ
1) ความเชื่อแบบอำนาจเหนือธรรมชาติและวิธีการดูแลสุขภาพ
ความเชื่อเกี่ยวกับสาเหตุของการเกิดโรค
ความเจ็บป่วยเกิดจากเวทมนต์และคุณไสย
ความเจ็บป่วยที่เกิดจากขวัญ
2) ความเชื่อแบบพื้นบ้านและวิธีการดูแลสุขภาพ
ความเจ็บป่วยที่เกิดจากการขาดสมดุลธาตุ
ความเจ็บป่วยที่เกิดจาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
3) ความเชื่อแบบการแพทย์แผนตะวันตกและวิธีการดูแลสุขภาพ
การเจ็บป่วยเกิดจากเชื้อโรค
ความเจ็บป่วยเกิดจากพันธุกรรม
ความเจ็บป่วยเกิดจากพฤติกรรม
4) ความเชื่อและการดูแลสุขภาพในช่วงเปลี่ยนผ่านสถานการณ์ชีวิต
4.1) ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับการเกิดแบบพื้นบ้าน
4.1.1) ระยะตั้งครรภ์
ความเชื่อเกี่ยวกับการตั้งครรภ
คนโบราณเชื่อว่าการตั้งครรภ์เป็นผลจากความสัมพันธ์ของ
มนุษย์กับดวงดาวในระบบจักรวาล
การดูแลสุขภาพในระยะตั้งครรภ์
เกี่ยวกับสุขภาพจิต สุขภาพกาย การดูแลทารกในครรภ์ การฝากครรภ์
4.1.2) ระยะคลอดบุตร
ความเชื่อเกี่ยวกับการคลอดบุตร
เรื่องความเป็นสิริมงคล
ท่าทางในการคลอด
4.1.3) ระยะหลังคลอด
ความเชื่อเกี่ยวกับภาวะหลังคลอด
ความเชื่อเรื่องผี
ความเชื่อ
เรื่องสมดุลธาตุ 4
ความเชื่อเรื่องกรรม
การดูแลสุขภาพในระยะหลังคลอด
การอยู่ไฟ
การนาบหม้อหรือการทับหม้อเกลือ
การประคบสมุนไพร
การนวดหลังคลอด
4.2) ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับการเกิดแบบแพทย์ตะวันตก
4.2.1) ความเชื่อเรื่องเกี่ยวกับการตั้งครรภ์
ภาวะที่ตัวอ่อนหรือทารกได้ก่อกำเนิดขึ้นภายในมดลูก
4.2.2) การดูแลสุขภาพแบบการแพทย์ตะวันตกมีหลักการดูแลคล้ายคลึงการแบบพื้นบ้าน
มีในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด และหลังคลอด
5) ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความชรา
5.1) ความเชื่อเกี่ยวกับความชราและการดูแลสุขภาพแบบพื้นบ้าน
5.1.2) การดูแลสุขภาพวัยชราแบบพื้นบ้าน
การใช้สมุนไพร
สมุนไพรตำรับ (ยาดองยาบำรุง)
สมุนไพรเดี่ยว (โสม บัวหลวง กวาวเครือขาว ขี้เหล็ก)
การดูแลอาหาร
การดูแลสุขภาพโดยพึ่งพิงศาสนา
การดูแลด้านสุขภาพทางเพศ
5.1.1) ความเชื่อเกี่ยวกับความชรา
ภาวะหมดประจำเดือนในเพศหญิง
การเสื่อมสมรรถภาพทางเพศในเพศชาย
ความแปรปรวนของธาตุลม
5.2) ความเชื่อเกี่ยวกับความชราและการดูแลสุขภาพแบบการแพทย์แผนตะวันตก
5.2.1) ความเชื่อเกี่ยวกับความชรา
อายุตั้งแต่ 60 หรือ 65ปีขึ้นไป
5.2.2) การดูแลสุขภาพวัยชราแบบการแพทย์แผนตะวันตก
การดูแลด้านโภชนาการ
การดูแลด้านฮอร์โมน
การดูแลด้านการพักผ่อนนอนหลับ
การดูแลด้านการออกกำลังกาย
การดูแลด้านอุบัติเหต
การดูแลด้านจิตใจ
6) ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความตาย
6.1) ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความตายแบบพื้นบ้าน
6.1.1) ความเชื่อเกี่ยวกับความตายแบบพื้นบ้าน
6.1.2) การดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความตายแบบพื้นบ้าน
6.2) ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความตายแบบแพทย์แผนตะวันตก
6.2.1) จะพิจารณาจากการหยุดทำงานของหัวใจและการทำงานของแกนสมอง
6.2.2) การดูแลสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับการตายแบบแพทย์แผนตะวันตก
ค่านิยมทางสังคม
1) ครอบครัว
เป็นสถาบันสังคมอันดับแรกที่มีอิทธิพลต่อการสร้างค่านิยมให้แก่บุคคล
2) โรงเรียน
สถาบันทางสังคมที่มีส่วนในการสร้างค่านิยมอันถูกต้องให้แก่เด็กเป็นอย่างมากในการสั่งสอนเด็กให้เกิด ความคิด ความเชื่อ
3) สถาบันศาสนา
บุคคลและหน่วยงานของศาสนาต่างๆ ก็มีส่วนช่วยในการปลูกฝังค่านิยมและศีลธรรมอันถูกต้องได้เป็นอย่างดี
4) สังคมวัยรุ่นและกลุ่มเพื่อน
การทำกิจกรรมอื่นๆในสังคมวัยรุ่น ผลที่ได้รับอันหนึ่งคือ การเรียนรู้และการยอมรับค่านิยมจากกิจกรรมเหล่านั้น
5) สื่อมวลชน
ค่านิยมในการแต่งกายตามสมัยนิยม ทรงผม
6) องค์การของรัฐบาล
รัฐมีบทบาทสาคัดในการปลูกฝังค่านิยมให้แก่คนในสังคม
ถ้าไม่ได้กระทำโดยทางตรงก็กระทำโดยทางอ้อม
ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพ
1) ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ส่งเสริมสุขภาพ
การให้ทารกกินนมแม่นานถึง 2 ปี
หรือการห้ามหญิงหลังคลอดบริโภคน้ำดิบ
2) ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ไม่ได้ให้ประโยชน์
ห้ามหญิงมีครรภ์กินกล้วยแฝด
3) ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ไม่แน่ว่าให้คุณหรือโทษ
สังคมแอฟริกันบางสังคมให้เด็กกินดินหรือโคลน
4) ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ให้โทษ
การรับประทานอาหารสุก ๆ ดิบ ๆ เป็นสาเหตุโรคพยาธิ
โรคอุจจาระร่วง