Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ เลือดและส่วนประกอบของเลือด - Coggle Diagram
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ เลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลักการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
แบ้งออกเป็น 3 ชนิดดังนี้
2.การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำใหญ่(Central venous therapy)
ทำให้ผู้ป่วยไม่สามารถรับประทานอาหารทางปาก หรือได้รับไม่เพียงพอ
3.การให้สารน้ำและสารละลายทางหลิดเลือดดำใหญ่ผ่านอุปกรณ์ที่ฝังไว้ใต้ผิวหนัง(Implanted vascular access device หรือ venous port)
ผู้ป่วยที่จำเป็น ได้แก่ ผู้ป่วยโรคเหลือดเลือดเรื้อรัง ต้องได้รับการบำบัดทางเคมี หรือให้เลือด
1.การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำส่วนปลาย (peripheral intravenous infusion
) อยุ่ใตชั้นผิวหนังตื้นๆอยู่ส่วนปลายของแขนขา ผู้ป่วยที่จะต้องผ่าตัดต้องได้รับยาทางหลอดเลือดดำ
Heparin lock หรือ Saline lock แทงเข็มให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำส่วยปลายคาเข็มที่มีสารต้านการแข็งตัวของเลือด (Heparin) เจือจาง (heparin: 0.9 % NSS=1:100 ) เพื่อให้สารละลายเข้าทางหลอดเลือดเป็นครั้งเป็นคราว
Piggy back IV Administration เป็นการให้สารน้ำขวดที่ 2 มีขนาดบรรจุ 25-250 〖มล〗^2 เมื่อสารน้ำPiggy backหมด สารน้ำในขวดหลัก็จะไหลต่อ
ชนิดของสารน้ำที่ให้ทางหลอดเลือดดำ
ประกอบไปด้วยสาร ดังนี้
2.สารละลายไฮโปโทนิก (Hypotonic solution)
ออสโมลาริตี้น้อยกว่า 280 m0sm/l น้อยกว่าน้ำนอกเซลล์ ต้องให้สารน้ำนี้อย่างช้าๆเพื่อป้องกันไม่ให้รบกวนเซลล์
3.สารละลายไฮเปอร์โทนิก (Hypertonic solution)
มีออศโมลาริตี้มากกว่า 310 m0sm/l มีมากว่าออสโมลาริตี้ของน้ำนอกเซลล์ จะทำให้เกิดการดึงน้ำจากเซลลืเข้าสู่ระบบไหลเวียน
1.สารละลายไอโซโทนิก (Isotonic solution)
จะมีความเข้มขันเท่ากับน้ำนอกเซลล์ให้สารน้ำนี้ช่วยเพิ่มปริมาตรน้ำที่อยู่นอกเซลล์ได้
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการหยดของสารน้ำ
ปัจจัยมีดังนี้
เกลียวปรับบังคับหยดที่ลื่นมากจะบังคับการหยดไม่ดีพอ อัตารการหยดจะเร็ว
5.สายให้สารน้ำมีสายยาวมากมีการหักพักจะทำให้ อัตราการไหลจะช้าลง
3.ขนาดของเข็มที่แทงเข้าหลอดเลือดดำ ถ้าเข็มใหญ่จะทำให้อัตารการหยดเร็วกว่า
6.การผูกยัดบริเวณหลอดเลือด อาจทำให้อัตราการหยดช้าลง
2.ความหนืดของสารน้ำถ้าหนืดจะทำให้หยดช้า
7.การเคลื่อนย้ายและการเคลื่อนไหวร่างกายของผู้ป่วย อาจทำให้เข็มเคลื่อน อัตราการหยดจะช้าลง
ระดับขวดสารน้ำต่ำหรือสูงเกินไป การแขวนขวดสารน้ำให้สูง สารน้ำจะหยดเร็ว ถ้าขวดสารน้ำอยู่ต่ำกว่าระดับหลอดเลือดจะทำให้แรงดันในเลือดมากทำให้เลือดไหลย้อนกลับเข้ามาในเข็มและปนกับสารน้ำได้
8.การปรับอัตราการหยดผู้ป่วยเด็กที่เอื้อมมือไปหมุนเล่น หรือญาติหมุนปรับเอง
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
1.การเลือกตำแหน่งของหลอดเลือดดดำที่จะแทงเข็ม
1.3 ตรวจสอบบริเวณตำแหน่งที่จะแทงเข็มว่ามีสภาพเหมาะสม
1.4 ถ้าจำเป็นต้องผูกยึดแขนและขา ให้หลีกเลี่ยงการแทงเข็มให้สารน้ำ
1.2 ให้เริ่มต้นแทงเข็มที่ให้สารน้ำที่หลอดเลือดดำส่วนปลายของแขนก่อน
1.5หลีกเลี่ยงการแทงเข็มบริเวณข้อพับต่างๆ
1.1 เลือกหลอดเลือดดำของแขนข้างที่ผู้ป่วยไม่ถนัด
1.6 คำนึงชนิดของสารน้ำที่ให้มีความหนืดไหมถ้าหนืดต้องหาเส้นเลือดใหญ่ในการให้สาร
2.อุปกรณ์เครื่องใช้
2.2 ชุดให้สารน้ำ (IV Administration set)ใช้เป็นทางผ่านของสารน้ำจากขวดไปสู่หลอดเลือดดำ
2.3 เข็มที่ใช้แทงเข้าหลอดเลือดส่วนปลาย (Peripheral insertion devices)
2.1 ขวดสารน้ำ
2.4 อุปกรณ์อื่นๆ เช่น เสาแขวนขวดให้สารน้ำ ยางรัดแขน แผ่นโปร่งใสปิดตำแหน่งที่แทงเข็ม (Transparent dressing) หรือก๊อซปลอดเชื้อ ไม้รองแขน พลาสเตอร์ สำลีปลอดเชื้อ 70 % Alcohol ถุงมือสะอาด
อาการแทรกซ้อนจากการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
1. ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นเฉพาะที่ (Local complication)
1.2 การมีเลือดออกและแทรกซึมเข้าใต้ปิวหนังบริเวณที่แทงเข็ม จะบวมและมีเลือดแทรกซึมใต้ผิวหนัง
1.3 การติดเชื้อเฉพาะที่ (Local infection) บวม แดง ร้อน บริเวณที่แทงเข็มอาจมีหนองบริเวณที่แทงเข็มด้วย
1.1 การบวมเนื่องจากสารน้ำซึมออกนอก หลอดเลือดดำเกิดอาการบวมบริเวณเข็มที่แทง
1.4 หลอดเลือดดำอักเสบ (Phlebitis) ผิวหนังบริเวณที่แทงเข็มบวม มีรอยแดงร้อนไปตามแนวหลอดเลือด
การพยาบาล
3.เปลี่ยนที่แทงเข็มให้สารน้ำใหม่
4.รายงานให้แพทย์ทราบเพื่อให้การรักษา
2.ประคบด้วยความร้อนเปียก
5.จัดแขนข้างที่บวมให้สูงกว่าลำตัวผู้ป่วยเพื่อลดอาการบวม
1.หยุดให้สารน้ำ จัดแขนข้างที่บวมให้สูงกว่าลำตัวผุ้ป่วย
6.ส่งหนองบริเวณที่แทงเข็มเพาะเชื้อ
2.ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นในระบบไหลเวียนของเลือด (Systemic complication)
2.2 การติดเชื้อในกระแสเลือด (Bacteremia หรือ Septicemia) มีไข้สูง หนาวสั่น ความดันโลหิตลกลง คลื่นไส้ อาเจียน
2.3 เกิดฟองอากาศในกระแสเลือด (Air embolism) เกิดจากไล่ฟองอากาศจากสารให้สารน้ำไม่หมด
2.1 การแพ้ยาหรือสารน้ำที่ได้รับ (Allergic reaction) มีผื่นขึ้นตามผิวหนังร่วมกับอาการแพ้ต่างๆ
2.4 ให้สารน้ำเร็วเกินและมากเกินไป (Circulatory overload) เกิดจากอัตราการหยดของสารน้ำเร็วเกินไป
การพยาบาล
เตรียมรถ Emergency ในการช่วยเหลือเร่งด่วน
รายงานให้แพทย์ทราบเพื่อทำการรักษา
4.วัดอุณหภูมิ ชีพจร การหายใจ และความดันโลหิต
ส่งเสือดและหนองที่เกิดเฉพาะที่ไปเพาะเชื้อ
3.ให้การช่วยเหลือตามอาการ เช่น ให้ออกซิเจนในกรณีที่ผู้ป่ววยหายใจไม่ออก แล้วรีบรายงานแพทย์ให้ทราบ เพื่อให้การรักษา
ดูแลให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
2.เปลี่ยนขวดให้สารน้ำ กรณีที่ผู้ป่วยมีการแพ้ยาหรือสารน้ำที่ได้รับ หรือมีการติดเชื้อ
ดูแลให้ออกซิเจน
1.หยุดให้สารน้ำ
จัดท่าให้ผู้ป่วยนอนศีรษะต่ำกรณีความดันโลหิตต่ำ หรือให้นอนศีรษะสูงในกรณีความดันโลหิตสูง
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอน
ขั้นตอนที่ 2 ข้อวินิจฉัย
มีความพร้อมในการรับสารน้ำทางหลอดเลือตามแผนการรักษา
ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนในการให้สารน้ำทางหลอดเลือด
ใช้หลัก 6 Rights และความปลอดภัย SIMPLE ของ Patient safety goal
ขั้นตอนที่ 1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
2.ประเมินด้านจิตใจ
ความพร้อมในการรับบริการ ควาต้องการในกาารรับบริการ ความวิตกกังวลและความกลัว
3. การประเมินสิ่งแวดล้อม
ความสะอาด ความเป็นระเบียบ ความพร้อมใช้งาน บรรยากาศในหอผู้ป่วย
1.การประเมอนด้านร่างกาย
การรู้สึกตัว พยาธิสภาพของโรค
4. การประเมินแผนการรักษา
ตรวจสอบแผนการรักษา ตรวจสอบชนิดของสารน้ำตามแผนการรักษา
ขั้นตอนที่ 4 การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำเครื่องใช้
extension tube
IV stand (เสาน้ำเกลือ)
สำลีชุบแอลกอลฮอร์ 70 เปอร์เซ็น
three ways
4.tourniquet
พลาสเตอร์ หรือ พลาสเตอร์ใสสำเร็จรูป
3.intravenous set (IV set)
แผ่นฉลากชื่อ
2.intravenous catheter (IV cath.) เบอร์ 22/24
ถุงมือสะอาดและหน้ากากอนามัย
1.intravenous fluid (IV fluid) ตามแผนการรักษา
วัตถุประสงค์ในการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ให้ยาบางชนิดที่ไม่ดูดซึมทางระบบทางเดินอาหาร
รักษาสมดุลของกรดด่างในร่างกาย
ให้สารน้ำเพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
ใช้เป็นช่องทางในการฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ
ในสารน้ำทดแทนน้ำที่สูญเสียจากร่างกาย
แก้ไขความดันโลหิต
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการให้สารน้ำทางหลอดเลือด
การประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล การปฏิบัตืที่ถูกต้อง การจัดเตรียมอุปกรณ์อย่างครบถ้วน
3.การประเมินคุณภาพการบริการ ประเมินข้อ2 ว่าอยู่ในระดับใด ประเมินข้อ3 ว่าอยู่ในระดับใด
การประเมินผลการให้น้ำทางหลอดเลือดดำ ประเมินอาการแทรกซ้อนและอาการข้างเคียง ประเมินสภาพร่างกายและจิตใจปู้ป่วย ประเมินความสุขสบาย และประเมินความพึงพิใจของผู้ป่วย
การใช้กระบวนการพยาบาลในการฉียาเข้าหลอดเลือดดำ
ขั้นตอน
ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนในการบริหารยา
ขั้นตอนที่ 4 วิธีการฉีดยาเข้าหลอดเลือด
ขั้นตอนที่ 2 ข้อวินิจฉัย
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการบริหารการฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่ 1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
การให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
วัตถุประสงค์
1.ให้ผู้ป่วยที่รับประทานอาหารและทางปากไม่ได้
ทดแทนน้ำที่ร่างกายสูญเสียไป
ข้อบ่งชี้
โรคทางเดินอาหาร
2.โรคของอวัยวะต่างๆ เช่น ไตวาย โรคหัวใจแต่กำเนิด
ภาวะทางศัลยกรรม เช่น ถูกน้ำร้อนลวก
ความผิดปกติของจิตใจ
โรคมะเร้งต่างๆ
ส่วนประกอบของสารอาหารในสารละลาย
3.โปรตีนที่อยู่ในรูปกรดอะมิโน
วิตามิน
2.สารละลายไขมัน
5.เกลือแร่
คาร์ดบไฮเดรต
6.น้ำคำนวณตามน้ำหนักผู้ป่วย
ตำแหน่งของการให้สารอาหารทางหลอดเลือด
1.การให้ทางหลอดเลือดดำแขนง
2.การให้ทางหลอดเลือดดำใหญ่
อุปกรณ์ 1 สารอาหาร 2 ชุดให้อาหาร
อาการแทรกซ้อนจากการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
มีสิ่งแปลกปลอมอยู่ในระบบไหลเวียนเลือด
3.การให้สารอาหารมากเกิดไป พบง่ายในเด็ก อาจปวดศีรษะ หายใจตื้น
1.บวมเนื่องจากมีสารอาหารเข้าไปอยู่ในเนื้อเยื่อชั้นผิวหนัง
4.ไข้ เกิดจากสิ่งแปลกปลอมเข้าสู่กระแสเลือด
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอน
ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนการพยาบาล
ขั้นตอนที่ 4 การปฏิบัติการพยาบาล
ขั้นตอนที่ 2 ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลทางการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่ 1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
การให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
เลือดมีอยู่ 3 ส่วน ได้แก่ เวลล์เม็ดเลือด แบ่งเป็น เซลล์เม็ดเลือดแดง เซลล์เม็ดเลือดขาว และ เกร็ดเลือด
การให้เลือดหมายถึง การให้เฉพาะเม็ดเลือดหรือน้ำเลือดเข้าทางหลอดเลือดดำของผู้ป่วย
ต้องให้เลือดแก่ผู้ป่วยอย่างถูกหมู่เลือด มี 4หมู่เลือด คือ A,B.AB และ O
ภาวะแทรกซ้อนจากการให้เลือด
4.ปฎิกิริยาภูมิแพ้
5.การถ่ายทอดโรค
3.ไข้ เกิดจากการที่ได้รับสาร อาจมีเชื้อแบททีเรีย หรืออุปกรณ์ไม่สะอาด
6.การอุดตันจากฟองอากาศ
2.ปริมาตรการไหลเวียนของเลือดมากเกินไป
7.ภาวะสารซิเตรทเกินปกติ
1.เม็ดเลือดแดงสลายตัว
ภาวะโปตัสเซียมเกินปกติ
การใช้กระบวนการพยาบาในการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนในการให้เลือดและสารประกอบของเลือด
ขั้นตอนที่ 4 การให้เลือดและสารประกอบของเือด เครื่องใช้
ขั้นตอนที่ 2 ข้อวินิจฉัย
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการให้เลือดและสารประกอบของเลือด
ขั้นตอนที่ 1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
การบันทึกปริมาณน้ำเข้า-ออกจากร่างกาย
หลักการบันทึกจำนวณสารน้ำที่เข้าและออกจากร่างกาย
3.ร่วมกับผู้ป่วยในการวางแนกำหนดจำนวนน้ำที่เข้าสู่ร่างกายในแต่ละช่วงเวลา
4.จดบันทึกจำนวนน้ำและของเหลวทุกชนิดที่ให้
2.อธิบายเหตุผลและความสำคัญของการวัดและการบันทึกจำนวนน้ำที่เข้า-ออกร่างกาย
5.การจดบันทึกควรสรุปทุก 8 ชั่วโมง และทุกวัน
1.แบบฟอร์มการบันทึกควรแขวนไว้ที่เตียงผู้ป่วย
6.บันทึกจำนาณสารน้ำที่สูญเสียจากทางอื่น
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมความสมดุลของสารน้ำในร่างกาย
3.การวางแผนการพยาบาล มีวัตถุประสงค์ เกรณฑ์การประเมิน
4.การปฏิบัติการพยาบาล หยุดให้สารน้ำทันที ประเมินอาการบวม บันทึกสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง
2.ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล มีภาวะหลอดเลือดดำอักเสบจากการได้รับสารน้ำ
5.การประเมินผลการพยาบาล ประเมินอาการผู้ป่วย อาการหลิดเลือดดำอักเสบบริเวณหลังมือ ปริมาณสารน้ำเข้าและออกมีความสมดุล
1.การประเมินสุขภาพ S: ผู้ป่วยบ่นปวดบริเวณที่ให้สารน้ำมาก O: สังเกตุว่าหลังมือซ้ายบวมแดง