Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ เลือดและส่วนประกอบของเลือด - Coggle Diagram
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ เลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลักการให้สารน้ำทางเลือดดำ
Peripheral intravenous infusion
ผู้ป่วยที่ต้องงดอาหารและน้ำ เพื่อผ่าตัด
ผู้ป่วยที่มีความจำเป็นให้ยาางหลอดเลือด
Central venous therapy
ผู้ป่วยที่ไม่สามารถรับประทานอาหารทางปาก
Implanted vascular access device or venous port
ผู้ป่วยที่ต้องให้สารลลายทางหลอดเลือดดำเป็นระยะๆ
ไม่สามารถให้สารน้ำและสารละลายทางหลอดเลือดดำส่วนปลาย
ชนิดของสารน้ำที่ให้ทางหลอดเลือดดำ
Isotonic solution
จะความเข้มข้นเท่ากันน้ำนอกเซลล์
ช่วยเพิ่มปริมาตรของน้ำที่อยู่นอกเซลล์
ออสโมลาริตี้ 280-310 moam/l
Hypotonic solution
สารน้ำที่มีโมเลกุลอิสระของน้ำมากกว่าในเซลล์
เพื่อป้องกันการลบกวนของเซลล์
ออสโมลาริตี้ น้อยกว่า 280 moam/l
Hypertonic solution
ออสโมลาริตี้ มากกว่า 310 moam/l
ทำให้เกิดการดึงน้ำจากเซลล์ระบบไหลเวียน
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่ออัตราการหยดของสารน้ำ
ระดับขวดสารน้ำสูงหรื่อต่ำไป การแขวนน้ำให้สูงจะหยดเร็วกว่า
ความหนืดของสารน้ำ ถ้าสารน้ำมีความหนืดสูงอัตราการหยดจะช้า
ขนาดของเข็มที่แทงเข้าหลอดเลือดดำ เข็มขนาดใหญ่จะมีทางผ่านกว้าง
เกลียวปรับบังคับหยดที่ลื่นมาก จะบังคับการหยดได้ไม่ดีพอ อัตราหยดจะเร็ว
สายให้สารน้ำ มีความยาวมาก มีการหักพับงอหรืถูกกด สารน้ำผ่านไม่สะดวก
การผูกริเวณหลอด แน่นหรอตึงเกินไป
การเคลื่อย้ายและการเคลื่อนไหวร่างกายของผู้ป่วย
การปรับอัตราหยดผู้ป่วยเด็กที่เอื้อมมือไปหมุนปรับ หรือญาติมีการปรับ
การคำนวณอัตราการหยดของสารน้ำทางหลอดเลือดดำ
สูตรการคำนวณอัตราหยดของสารน้ำใน 1 นาที
จำนวนหยดของสารละลาย (หยด/นาที) = จำนวน sol.(มล/ซม) x จำนวนหยดต่อมล / เวลา(นาที)
สูตรการคำนวณสารน้ำที่จะให้ใน 1 ชั่วโมง = ปริมาตรของสารน้ำ / จำนวนเวลาที่จะเป็นชั่วโมง
การให้สารน้ำทางหลอดเลือด
การเลือกตำแหน่งของหลอดเลือดดำที่จะแทงเข็ม
เลือกหลอดเลือดดำแขนข้างที่ไม่ถนัดผู้ป่วย
ให้เริ่มต้นแทงเข็มที่ให้สารน้ำที่หลอดเลือดส่วนปลายแขน
ตรวจสอบตำแหน่งที่จะแทงเข็มว่ามีสภาพเหมาะสม
ถ้าจำเป็นต้องยึดแขนและขา ให้หลีกเลี่ยงการแทงเข็มให้สารน้ำ
หลีกเลี่ยงการแทงเข็มบริเวณข้อพับ
คำนึงถึงชนิดของสารน้ำที่ให้
อุปกรณ์
ขวดสารน้ำ โดยขวดสารน้ำ/ยา ต้องตรงกับใบสั่งยา
IV Administration set
Peripheral insertion devices
เสาแขวนขวดให้สารน้ำ ยางรัดแขน
อาการแทรกซ้อนจากการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
Local complication
การบวมจากสารนำซึมออก
Extravasations
Local infection
Phlebitis
Grade 0 ไม่มีอาการ
Grade 1 มีอาการปวดหรือไม่ก็ได้ ผิวหนังแดง
Grade 2 ผิวหนังบวมหรือไม่ก็ได้ บวมที่แทงเข็ม
Grade 3 ปวด แดงผิวหนัง คลำได้หลอดเลือด
Grade 4 ปวด บวมแดง คลำได้หลอดเลือดเป็นลำ
Systemic complicatio
Allerigic reaction
Bacteremia หรือ Sepricemia
Air embolism
Circulatory overload
Cardiac failure
การพยาบาล
หยุดให้สารน้ำ
เปลี่ยนขวดให้สารน้ำ
ให้การช่วยเหลือตามอาการ
วัดอุณหภูมิ ชีพจร การหายใจ
เตรียม Emergency ช่วยเหลือเร่งด่วน
รายงานแพทยให้ทราบ
ส่งเหลือดและหนองที่เกิดเฉพาะ
ดูแลให้ยาปฏชีวนะตามแผนการรักษา
ดูแลให้ออกซิเจน
การจัดท่านอน
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ขั้นที่ 1
ประเมินร่างกาย
ประเมินด้านจิตใจ
ประเมินสิ่งแวดล้อม
การประเมินแผนการรักษา
ขั้นที่ 2
วินิจฉัย
เพรียมพร้อมในการเริ่มให้สารน้ำทางหลอดเลือดตามแผนรักษา
ขั้นที่ 3
การวางแผนในการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
บริหารยาโดยใช้หลัก 6 Rights
หลักความปลอดภัย SIMPLE
วัตถุประสงค์
ให้สารน้ำทดแทนที่สูญเสีย
ให้สารน้ำเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
ให้ยาบางชนิดที่ไม่สามารถดูดซึมทางระบบทางเดินอาหาร
รักษาสมดุลในร่างกาย
ใช้เป็นช่องทางในการฉีดยาเข้าทางหลอดเลือดดำ
แก้ไขความดันโลหิต
ขั้นที่ 4
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
วิธีการให้สารน้ำทางหลอดเลือด
ตรวจสอบคำสั่งรักษา
เตรียมเครื่องใช้ไปที่เตียงผู้ป่วย
บอกผู้ป่วย และญาติ อธิบายวัตถุประสงค์ เพื่อความเข้าใจ
ล้างมือให้สะอาด
ดึงแผ่นโลหะที่ปิดขวดสารน้ำออก
เช็ดจุกยางที่ขวด
ต่อ IV set กับ IV fluid
ต่อ three ways กับ extension tube แล้วต่อกับIV set ปิด Clamp
แขวนขวดIV fluidกับเสาน้ำเกลือสูงประมาณ 1 เมตร
บีบ chamber ของ IV set ให้ IV fluidให้เลือดไหลลงมาในกระเปาะประมาณ 1/2
เตรียมผิวหนังและการแทงเข็มให้สารน้ำ
ขั้นที่ 5
การประเมินผลการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ประเมินอาการแทรกซ้อน
ติดตามประเมินสัญญาณชีพ
ประเมินสภาพร่างกายและจิตใจผู้ป่วย
ประเมินความสุขสบายของผู้ป่วย
ประเมินความพึงพอใจผูุ้ป่วย
ประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล
ประเมินการปฏิบัติอย่างถูกต้อง
ประเมินการจัดเตรียมอุปกรณ์เครื่องใช้ให้ครบถ้วน
ประเมินผลคุณภาพการบริการ
ประเมินคุณภาพของการปฏิบัติในข้อที่ 2
ประเมินคุณภาพของการให้บริการในข้อที่ 3
การให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
วัตถุประสงค์
ให้ผู้ป่วยที่รับประทานอาหารและน้ำทางปากไม่ได้หรือรับประทานได้น้อย เพื่อได้รับอาหารที่ครบถ้วน
ทดแทนน้ำที่ร่างกายสูญเสียไป
ข้อบ่งชี้ในการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
โรคทางเดินอาหาร
โรคของอวัยวะต่างๆ
ภาวะทางศัลยกรรม
ความผิดปกติของจิตใจ
ความผิดปกติของจิตใจ
โรคมะเร็งต่างๆ
ส่วนประกอบของสารอาหารในสารละลาย
คาร์โบไฮเดรต นิยมใช้ในรูปของกลูโคส
Fat emulsion
โปรตีนอยู่ในรูปแบบกรดอะมิโน
วิตามินให้ทั้งชนิดละลายในน้ำ
เกลือแร่
น้ำให้คำนวณจำนวนน้ำที่จะให้แก่ผู้ป่วยตามน้ำหนักตัว
ชนิดของสารอาหารทางหลอดเลือดดำ
Total parenteral nutrition ( TPN )
การให้โภชนบำบัดครบตามความต้องการของผู้ป่วยทั้งปริมาณพลังงานที่ต้องการ และสารอาหารทุกหมู่
Partial or peripheral parenteral nutrition ( PPN )
การให้โภชนบำบัดทางหลอดเลือดเพียงบางส่วน อาจจะได้รับสารอาหารที่ไม่ครบตามวามต้องการ
ตำแหน่งของการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
Peripheral vein
centeral vein
อุปกรณ์ในการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
สายให้อาหารทางหลอดเลือดดำ
ชุดให้สารอาหาร
ขั้นตอนในการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
อธิบายให้ผู้ป่วยทราบ เนื่องจากผู้ป่วยเมื่อทราบว่าจะต้องให้สารอาหาร
ล้างมือให้สะอาดก่อนให้พยาบาลและสวมmask
เตรียมอุปกรณ์ในการให้ PPN หรือ TPN
ต่อสายยางให้อาหารเข้าไปในชุดให้สารอาหาร
ตรวจสอบ PPN หรือ TPN จะต้องไม่ขุ่นหรือมีตะกอน
มีป้ายปิดที่ขวดให้สารอาหาร ระบุชื่อผู้ป่วย
นำสารอาหารและสายยางให้สารอาหาร
ให้สารอาหารปรับจำนวนหยดตามแนการรักษา
อาการแทรกซ้อนจากการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
Local infilltration
ลักษณะที่พบ
บวมบริเวณที่ให้ บางครั้งอาจมองเห็นไม่ชัด
ผู้ป่วยรู้สึกไม่สุขสบายบริเวณที่ให้
การพยาบาลและป้องกัน
ถ้าพบว่ามีสารอาหารซึมอกมาอยู่ในเนื้อเยื่อควรหยุดให้สารอาารทันที
ควรดูแลอย่างใกล้ชิด
Embolism
ลักษณะที่พบ
อาการเขียว เนื่องจากขากออกซิเจน
สัเกตการหยดของสารอาหาร
การพยาบาลและป้องกัน
ระมัดระวังในการเปลี่ยนขวดสารอาหาร
หยุดสารอาหารทันทีที่พบก้อนเลือดอุดตันที่เข็ม
ห้ามนวดคลึง
Circulatory overloa
ลักษณะที่พบ
ปวดหัว หายใจตื้น หอบเหนื่อย
ตรวจสอบความดันเลืดและแรงดันหลอดเลือด
ผู้ป่วยมีปริมาณน้ำเข้าและอกไม่สมดุล
มีการคั่งของหลอดเลือดดำ
ถ้ารุนแรงจะมีภาวะปอดบวมน้ำ หายใจลำบวม นอนราบไม่ได้
การพยาบาลและป้องกัน
ปรับอัตราหยดให้ช้าที่สุดและรายงานให้แพทย์ทราบด่วน
บันทึกสัญญาณชีพ
จัดผู้ป่วยให้อยู่ในท่านั่งเพื่อช่วยให้หายใจสะดวก
Pyrogenic reactions
ลักษณะที่พบ
ไข้สูง 37.3 - 41 องศาเซลเซียส
ปดหลัง ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย คลื่นไส้ อาเจียน
หนาวสั่น
ความรุนแรงของอาการขึ้นอยู่กับเชื้อและภาวะผู้ป่วย
การพยาบาลและป้องกัน
หยุดให้สารอาหาร
บันทึกสัญญาชีพ และรายงานแพทย์
ควรเก็บชดให้อาหารและชุดสายให้สารอาหารเพาะเชื้อ
เตรียมสารอาหารควรทำให้ปลอดภัย
เขียนวัน เวลาที่เริ่มให้สารอาหาร
ตรวจสอบรูรั่วของสายให้อาหาร
เปลี่ยนชุดให้สารอาหารตลอด 24 ชั่วโมง
หุ้มผ้าก็อซปราศเชื้อบริเวณรอยข้อต่อ
การหยุดให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
ให้งดสารละลายไขมันทันที
ลดความเข้มข้นของน้ำตาลกลูโคส กรดอะมิโน เกลือแร่
ให้เพิ่มอาหารที่ให้ทางปาก
ความเข้มข้นของกูดคศในสารลลายลดลงเหลือร้อยละ 5 ยกเลิกให้อหารทางหลอดเหลือวันรุ่งขึ้น
ใช้เวลาทั้งหมดประมาณ 5 - 7 วัน
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
Assesment
Nursing diagnosis
เพื่อไม่ให้เกิดหลอดเลือดดำอักเสบ
เพื่อไม่ให้สิ่งแปลกปลอมอยู่ในระบบไหลเวียนเลือด
บริเวณที่ให้สารน้ำทางหลอดเลือดจะต้องไม่บวม
สัญญาณชีพจร
Implementation
ประเมินร่างกายก่อนให้สารน้ำทางหลอดเลือด
ประเมินชีพจรก่อนและขณะให้สารอาหาร
ผู้ป่วยที่ได้รับสารอาหารหลอดเลือดควรเปลี่ยนตำแหน่งทุก 3 วัน
มีป้ายติดที่ขวดให้สารอาหาร ระบุชื่อ ผู้ป่วย
สังเกตอาการผู้ป่วย
ถ้าสารอาหารให้ทางหลดเลือดมีการรั่วหรืออุดตันแจ้งแพทย์ทันที
หลีกการฉีดยาทางหลอดเลือดเดียวกับที่มีการให้สารอาหาร
Planning
Evaluation
ประเมินผลการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
ประเมินอาการแทรกซ้อนและอาการข้างเคียง
ติตามประเมินัญญาณชีพก่อน ขระและหลังให้สารอาหาร
ประเมินสภาพจิตใจผู้ป่วย
ประเมินความสุขสบายและท่านอนผู้ป่วย
ประเินความพึงพอใจของผู้ป่วย
ประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล
กระเมินการปฏิบัติที่ถูกต้อง
ประเมินการจัดเตรียมอุปกรณ์เครื่องให้ครบถ้วน
ประเมินผลคุณภาพการบริการ
ประเมินคุณภาพของการปฏิบัติในข้อที่ 2
ประเมินคุณภาพของการให้บริการในข้อที่ 3
การให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
คนเลือดกรุ๊ป Rh-ve ต้องรับจาก Rh-ve เท่านั้น
คนเลือดกรุ๊ป o รับได้จาก o เท่านั้น
คนเลือดกรุ๊ป AB รับได้ทุกกรุ๊ปเลือด
คนเลือดกรุ๊ป A รับได้จาก A และ O
คนเลือดกรุ๊ป B รับได้จาก B และ O
เลือดกรุ๊ป o ให้ได้ทุกกรุ๊ป
เลือดกรุ๊ป AB ใหได้เฉพาะ AB
เลือดกรุ๊ป A ให้ได้ A และ AB
เลือดกรุ๊ป B ให้ได้ B และ AB
ภาวะแทรกซ้อนจากการให้เลือด
Hemolysis
เกิดจากการให้เลือกผิดหมู่
Volume overload
เกิดจากให้เลือดในอัตราเร็วเกินไป
Febrile transfusion reaction
เกิดจากการได้รับสารที่ทำให้เกิดไข้
Allergic reaction
เกิดจากผู้รับแพ้สารอย่างใดอย่างหนึ่งในเลือดที่ได้รับ
Transfusion-associated graft versus host disease
เกิดจากการขาดการตรวจสอบเลือดของผู้ให้
Air embolism
เกิดจากการไล่ฟองอากาศไม่หมดไปจากสายให้เลือดอากาศจะลอยไปตามกระแสเลือด
Acid-citrate dextrose
ภาวะสารซิเตรทเกินปกติ
Hyperkalemia
ภาวะโปตัสเซียมเกินปกติ
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
ประเมินสภาพผู้ป่วย
ประเมินด้านร่างกาย
ประเมินด้านจิตใจ
ประเมินสิ่งแวดล้อม
ประเมินแผนการรักษา
ข้อวินิจฉัย
ความพร้อมในการเริ่มให้เลือดและสารประกอบ
การวางแผนในการใช้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลักความปลอดภัย SIMPLE
วางแผนให้ผู้ป่วยได้รับเลือดและสารประกอบโดย 6 Rights
วัตถุประสงค์
ทดแทนปริมาณเลือดสูญเสียไป
ทดแทนเม็ดเลือดแดง
ทดแทนปัจจัยการเข็งตัวของเลือด
การให้เลือดและสารประกอบของเลือด
ตรวจสอบแผนการรักษา
ตรวจสอบชื่อสกุล Rh ของผู้ป่วย
เตรียมเครื่องใช้ไปที่เตียงผู้ป่วย
บอกให้ผู้ทราบ อธิบายวัตถุประสงค์เพื่อให้เข้าใจ
ล้างมือให้สะอาด
ดึงที่ปิดถุงเลือดออก
เช็ดรอบๆ ด้วยแอลกอฮอล์ 70 %
ต่อ blood set กับ ขวดเลือด
ต่อ three ways กับ extension tube แล้วต่อกับ blood set ปิด Clamp
แขวนขวดเลือดกับเสาน้ำเกลือสูงประมาณ 1 เมตร
บีบ chamber ของ bood set ให้เลือดไหลลงมาในกระเปาะประมาณ 1/2
เตรียมผิวหนังและการแทงเข็มให้สารน้ำ
การประเมินผลการให้เลือดและสารประกอบของเลือด
ประเมินผลการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
ประเมินอาการแทรกซ้อน
ติดตามประเมินสัญญาณชีพ
ปะเมินสภาพร่างกายและจิตใจผู้ป่วย
ประเมินความสุขสบายของผู้ป่วย
ประเมินความพึงพอใจผูุ้ป่วย
ประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล
ประเมินการปฏิบัติอย่างถูกต้อง
ประเมินการจัดเตรียมอุปกรณ์เครื่องใช้ให้ครบถ้วน
ประเมินผลคุณภาพการบริการ
ประเมินคุณภาพของการปฏิบัติในข้อที่ 2
ประเมินคุณภาพของการให้บริการในข้อที่ 3
การปฏิบัติเมื่อพบอาการแทรกซ้อนในผู้ป่วยที่ได้รับเลือด
หยุดให้เลือดทันทีแล้วเปิดหลอดเลือดดำ
รายงานแพทย์
ตรวจสอบสัญญาณชีพ สังเกตอาการ
เตรียมสารน้ำและยา
ส่งขวดเลือดและเจาะเลือดของผู้ป่วยจากแขนที่ไม่ได้ให้เลือด
บันทึกจำนวนสารน้ำที่นำเข้า - ออกจากร่างกาย
การหยุดให้เลือด เมื่อผู้ป่วยได้รับเลือดครบแล้วให้ปฏิบัติเหมือนกับการหยุดให้สารน้ำทาง
การดูแลผู้ป่วยภายหลังได้รับเลือด
ตรวจสอบสัญญาณชีพหลังให้เลือด 15 นาที
สังเกตปฏิกิริยาที่เกิดจากการให้เลือด
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับความุขสบาย
บันทึกหมู่เลือด ชนิดเลือด หมายเลขเลือด ปริมาณเลือด
การบันทึกปริมาณน้ำเข้า - ออกจากร่างกาย
หลักการบันทึกจำนวนสารน้ำที่เข้าและออกจากร่างกาย
แบบฟอร์มการบันทึกควรแขวนที่เตียงผุ้ป่วย
อธิบายเหตุผลและความสำคัญองการวัดและการบันทึกจำนวนน้ำที่รับเข้า
ร่วมกับผู้ปวยนการวางแผนกำหนวดจำนวนน้ำที่เข้าสู่ร่างกาย
จดบันทึกจำนวนน้ำและของเหลวทุกชนิดที่ให้ขณะมื้ออาหาร
บันทึกควรสรุปทุก 8 ชั่วโมงและทุกวัน
บันทึกจำนวนสารน้ำที่สูญเสียทางอื่น
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมความสมดุลของสารน้ำในร่างกาย
Health assessment
Nursing diagnosis
Planning
Implementation
หยุดให้สารน้ำทันที
ประเมินอาการบวมที่หลังมือซ้ายทุกเวร
จัดมือซ้ายที่บวมสูงกว่าลำตัวผู้ป่วย ใช้หมอนรองลดการบวม
เปลี่ยนบริเวรที่แทงเข็มให้สารน้ำ
ประเมินการขาดสารน้ำแลอิเล็คโตรไลท์
ลดความเครียด
Evaluayion
ประเมินอาการปวดผู้ป่วย
ประเมินอาการหลอดเลือดดำอักเสบบริเวณหลังมือ
ปริมาณสารน้ำและออกมีความสมดุล
การใช้กระบวนการพยาบาลในการฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ
ขั้นที่ 1
ประเมินร่างกาย
ประเมินสิ่งแวดล้อม
ประเมินด้านจิตใจ
การประเมินแผนการรักษา
ขั้นที่ 2
วินิจฉัย
บริหารยาโดยใช้หลัก 6 Rights
หลักความปลอดภัย SIMPLE
ขั้นที่ 3
การวางแผนในการบริหารยา
บริหารยาโดยใช้หลัก 6 Rights
หลักความปลอดภัย SIMPLE
ขั้นที่ 4
IV plug กับ piggy back 100 ml
วิธีฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ
แจ้งผู้ป่วยให้ทราบว่าจะฉีดยา
มือซ้ายเช็ดทำความสะอาด IV plug
แขวน piggy back กับเสาน้ำเกลือ มือขวาหยิบ syrnge 0.9 % NSS 3 ml ถอดปลอมเข็มออก แล้วไล่อากาศ
มือซ้ายยก IV plugขึ้นเล็กน้อยsyrnge 0.9 % NSS แทงเข็มตรง
ถอดปลอกเข็มของ IV set ไล่อากาศให้หมด มือซ้านยก IV plug เล็กน้อยมือขวาจับแทงเข็มตรงจุดยาง Iv plug เปิด clamp ปรับหยดยา 50 หยด/นาที
ฉีดยาหมด ปิด clamp มือขวาดึงเข็มออก ปิดปลอกเข็มด้วยมือข้างเดียว มือซ้ายเช็ดทำความสะอาด IV plug
ตรวจสอบความถูกต้อง ชื่อ-นามสกุล ผู้ป่วย
IV plug กับ syringe IV plug
วิธีฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ
ตรวจสอบความถูกต้อง ชื่อ-นามสกุล ผู้ป่วย
แจ้งผู้ป่วยให้ทราบว่าจะฉีดยา
มือซ้ายเช็ดทำความสะอาด IV plug
มือขวาหยิบ syrnge 0.9 % NSS 3 ml ถอดปลอมเข็มออก แล้วไล่อากาศ แทงตรงจุกยางของ IV plug มีเลือดออกหรือไม่
ถอดปลอกเข็มของ IV set ไล่อากาศให้หมด มือซ้านยก IV plug เล็กน้อยมือขวาจับ syringe แทงเข้มตรงจุกยางของ Iv plug มือขวาดัน plunger ช้าๆจนหมด
มือขวาดึงsyringeออก ปิดปลอกเข็มด้วยมือข้างเดียว มือซ้ายเช็ดทำความสะอาด IV plug
Surg plug กับ piggy back 100 ml
วิธีฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ
ตรวจสอบความถูกต้อง ชื่อ-นามสกุล ผู้ป่วย
แจ้งผู้ป่วยให้ทราบว่าจะฉีดยา
มือซ้ายเช็ดทำความสะอาดSurg plug
แขวน piggy back กับเสาน้ำเกลือ ปลดเข็มวางบนถาด เปิด clamp ให้น้ำยาไหลลงาตาม set IV จนเต็มสายยาง ปิด clamp
มือซ้ายsurg plugด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ สวมปลาย set IV เข้า surg plug เปิด clamp ปรับหยดยา 50 หยด/นาที
มือซ้ายจับ surg plug มือขวาเช็ดsurg plug ด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ ดึงset IV ออก เช็ด surg plugด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์
Surg plug กับ syringe IV push
วิธีฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ
แจ้งผู้ป่วยให้ทราบว่าจะฉีดยา
มือซ้ายเช็ดทำความสะอาดSurg plug
มือซ้ายSurg plugปลดเข็มออกจาก set IV ไล่อากาศออก
สวมปลาย tip ของ sringe เข้ากับ surg plug หมุนให้แน่น มือขวาดึง pluuger สังเหตว่ามีเลือดออกหรือไม่
เมื่อยาหมด มือซ้ายจับ surg plug มือขวาดึง syringe ออก เช็ด surg plug ด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์
ตรวจสอบความถูกต้อง ชื่อ-นามสกุล ผู้ป่วย
three ways กับpiggy back 100 ml
วิธีฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ
ตรวจสอบความถูกต้อง ชื่อ-นามสกุล ผู้ป่วย
แจ้งผู้ป่วยให้ทราบว่าจะฉีดยา
มือซ้ายเช็ดทำความสะอาดthree ways
แขวน piggy back กับเสาน้ำเกลือ ปลดเข็มวางบนถาด เปิด clamp ให้น้ำยาไหลลงาตาม set IV จนเต็มสายยาง ปิด clamp
มือซ้ายthree ways มือขวาหมุน ข้อต่อ three ways ปลดเข็มออกจาก set IV ไล่อากาศออก
มือซ้ายจับ three ways มือขวาเช็ดthree ways ด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ ปรับข้อต่อ three ways ปิดด้านที่ฉีดยา
three ways กับ syringe IV push
ตรวจสอบความถูกต้อง ชื่อ-นามสกุล ผู้ป่วย
แจ้งผู้ป่วยให้ทราบว่าจะฉีดยา
มือซ้ายเช็ดทำความสะอาดthree ways
มือซ้ายthree ways มือขวาหมุน ข้อต่อ three ways ปลดเข็มออกจาก set IV ไล่อากาศออก
ปลดเข็มออกจาก syringe ไล่อากาศออก
เช็ดthree ways สวมปลาย trip ของsyringe เข้ากับthree waysหมุนให้แน่ มือขวาดึง plunger สังเกตมีเลือดออกหรือไม่
มือซ้ายจับ three ways มือขวาเช็ดthree ways ด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ ปรับข้อต่อ three ways ปิดด้าน sideที่ฉีดยา
ขั้นที่ 5
การประเมินผลการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ประเมินความพึงพอใจผู้ป่วย
ประเมินอาการแทรกซ้อน
ติดตามประเมินสัญญาณชีพ
ประเมินสภาพร่างกายและจิตใจผู้ป่วย
ประเมินความสุขสบายของผู้ป่วย
ประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล
ประเมินการปฏิบัติอย่างถูกต้อง
ประเมินการจัดเตรียมอุปกรณ์เครื่องใช้ให้ครบถ้วน
ประเมินผลคุณภาพการบริการ
ประเมินคุณภาพของการปฏิบัติในข้อที่ 2
ประเมินคุณภาพของการให้บริการในข้อที่ 3