Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนการเปลี่ยนแปลงด้านสรีระวิทยา จิตสังคม และจิตวิญญาณในผู้สูงอายุ -…
กระบวนการเปลี่ยนแปลงด้านสรีระวิทยา จิตสังคม และจิตวิญญาณในผู้สูงอายุ
กระบวนการเปลี่ยนแปลงด้านสรีระวิทยา
ระบบผิวหนัง
เกิดบาดแผลได้ง่าย แผลหายช้า
เสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งผิวหนัง จากสารต้านมะเร็งทำงานได้น้อยลง
การพยาบาล
ทาโลชั่นวันละ 1 ครั้ง
ทาครีมกัน ใส่หมวก แว่นตากันแดด
ใช้สบู่ที่มีสภาพเป็นกลาง
ระบบประสาทและสมอง
ระบบประสาทอัตดนมัติเสื่อมลง
อาการที่พบบ่อย
รูม่านตาเล็กลง ตอบสนองต่อแสงน้อยลง
ความดันโลหิตลดลงเมื่อเปลี่ยนอิริยาบท
มีความเสื่อมของการควบคุมอุณหภูมิ
การเคมีที่ปลายประสาทลดลง ตอบสนองต่อสิ่งเร้าช้าลง
ผลกระทบ
เสี่ยงต่ออุบัติเหตุ
ความสามารถในพูด การคำนวณ การใช้สติปัญญาลดลง
เสี่ยงต่ออันตรายจากการได้รับกลิ่นลดลง
ระบบประสาทรับความรู้สึก
รูม่านตาเล็กลง ตอบสนองต่อแสงได้น้อย ความดันลูกตาสูงเกิดต้อหินง่าย
หูตึง จากการเปลี่ยนแปลงของตัวรับเสียง ผลิตขี้หูลดลงแต่สะสมมากขึ้น
เยื่อบุจมูกเสื่อม รวมถึงสูญเสียหน้าที่ของเส้นประสาทคู่ที่ 1
ตุ่มรับลิ้นฝ่อรีบลงส่งผลให้การรับลดเสื่อมลง
การพยาบาล
ประเมินการเรียนรู้ ช่วยเตือนความทรงจำ
ประเมินสภาพแวดล้อม จัดให้อยู่ในสภาพแวดล้อมที่คุ้นเคย
เพิ่มแสงสว่างในการทำงาน แสงเหลืองส้มแดง
ระบบกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อต่อ
ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อลดลง สูญเสียปริมาตรของกระดูกทำให้กระดูกพรุน ส่วนปลายของกระดูกหักได้ง่าย
การพยาบาล
ลดกิจกรรมที่มีการลงน้ำหนัก และทำไมทำกิจกรรมกลางแดด เพื่อป้องกัน UV
บริหารกล้ามเนื้อด้วยการเคลื่อนไหวข้อ
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
เนื้อเยื่อคอลลาเจนมากขึ้น ทำให้ความยืดหยุ่นลดลง
ลิ้นหัวใจที่เอออติกส์และไมทรัลมีการเปลี่ยนแปลงมากจากการเสื่อมของคอลลาเจนและมีการสะสมของแคลเซียมทำให้มีการเปิดได้นอยลง
การพยาบาล
ลดน้ำตาล ลดเค็มและงดอาหารไขมันสูง
ควบคุมน้ำหนัก
ตรวจฟังเสียงหัวใจอย่างสม่ำเสมอ
ระบบหายใจ
ขนโบกพัด เสื่อมหน้าที่ลง ทำให้ขจัดสิ่งแปลกปลอมได้ลดลง มีการสะสมของแคลเซียมที่หลอดลม ทำให้การหดขยายไม่ดี กล่องเสียงปิดไม่สนิท มักเกิดการสำลัก
ทรวงอกรูปร่างคล้ายถังเบียร์ จำนวนถุงลมลดลงทำให้พื้นที่การแลกเปลี่ยนก๊าซลดลง กล้ามเนื้ออกแข็งทำให้ปอดขยายได้ไม่ดี
การพยาบาล
หลีกเลี่ยงชุมชนแออัด
แนะนำให้ฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่
จัดโปรแกรมออกกำลังกาย เช่น เดินหรือปั่นจักรยาน
ระบบทางเดินอาหาร
กรดน้ำย่อยหลั่งลดลง สมรรถภาพการย่อยอาหารลดลง เบื่ออาหารท้องอืดง่าย มีไขมันแทรกที่ตับอ่อยมากขึ้น ขนาดตับเล็กลง สังเคราะห์โปรตีนได้น้อย
เยื่อบุลำไส้ฝ่อลีบลง ทำให้เศษอาหารคั่งค้างนาน ท้องผูกมากขึ้น ความยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อบริเวณหูรูดลดลง
การพยาบาล
แนะนำเรื่องการขับถ่าย ให้เข้าห้องน้ำทันที ไม่ควรกลั้น
หลีกเลี่ยงอาหารที่ทำให้ท้องอืด
ตรวจสุขภาพฟันทุก 6 เดือน
ระบบทางเดินปัสสาวะ
จำนวนการกรองของไตลดลง แคลเซียมสะสมเนื้อไตชั้นนอก มีเลือดมาเลี้ยงลดลง
ไม่สามารถกลั้นปัสสาวะได้ ในผู้ชายอาจมีต่อมลูกหมากโต ทำให้ปัสสาวะขัด
การพยาบาล
ติดตามประศิทธิภาพการทำงานของไต
ค่า GFR BUN Cr
ประเมินการถ่ายปัสสาวะ
ระบบต่อมไร้ท่อ
ต่อมไทรอยด์
ผลิต T3 , T4 ลดลง สลายเซลล์กระดูกเข้าสู่กระแสเลือดมากขึ้น ทำให้แคลเซียมในกระดูกลดลง
ต่อมใต้สมอง
Antidiuretic hormone : หน่วยไตไม่สามารถดูดกลับน้ำ
Corticotrophic : ผลิตฮอร์โมนเพศลดลง
Growth hormone : ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อลดลง ไขมันสะสมตามลำตัวมาก
ต่อมหมวกไต
ต่อมหมวกไตส่วนนอก : มีพังผืดเพิ่มขึ้น หลั่ง Corticol ลดลง
ต่อมหมวกไตสวนนอก : การหลั่งของ E , NE ใช้เวลานาน
การพยาบาล
ตรวจระดับ TSH น้ำตาลและความดันสม่ำเสมอ
รับประทานอาหารที่มีแคลเซียมสูง
ออกกำลังกายในแดดอ่อนๆ
ระบบสืบพันธ์ุ
อัณฑะ : ขนาดเล็กลง สร้างอสุจิได้ลดลง การเคลื่อนไหวของอสุจิลดลง สร้าง Testosterone ลดลง
รังไข่ : ปากมดลูกขนาดเล็กลง น้ำหลั่งต่างๆลดลง เยื่อบุผิวมดลูดเสื่อม Estrogen ลดลง ส่งผลให้เต้านมห้อยย้อยและเหี่ยวลง
การพยาบาล
แนะนำให้ใช้สารหล่อลื่นขณะมีเพศสัมพันธ์
ปรึกษาเพื่อให้ฮอร์โมนทดแทน
ขจัดความเชื่อที่ว่า เพศสัมพันธ์เป็นเรื่องต้องห้ามสำหรับผู้สูงอายุ
ระบบภูมิคุ้มกัน
ปริมาณอิมมูโนโกลบูลินและการทำหน้าที่ cell mediated immunity น้อยกว่าคนอื่นๆ
การพยาบาล
ล้างมือให้สะอาดก่อนทำการพยาบาล
หลีกเลี่ยงการสัมผัสสถานที่ที่เป็นแหล่งเชื้อโรค
ดูแลให้ได้รับวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่และปอดอักเสบ
กระบวนการเปลี่ยนแปลงด้านจิตสังคมและจิตวิญาณ
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทางจิตใจ
สภาพร่างกายที่เสื่อมลง
บทบาททางสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป
การสูญเสียคู่สมรส
ลักษณะการเปลี่ยนแปลงทางจิตใจ
อารมณ์เปลี่ยนแปลงได้ง่าย
ไม่เข้าสังคม เก็บตัว แยกตัว เกิดภาวะซึมเศร้า
หากรุนแรงอาจคิดฆ่าตัวตายได้
ทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงทางจิต สังคม
อิริคสัน
แบ่งพัฒนาการทางจิตใจวัยสูงอายุไว้ในขั้นที่ 8
ถ้าคิดว่าทำหน้าที่ที่ดีที่สุดจะเกิดคามพอใจ มีบุคลิกภาพที่เข้มแข็ง
หลักการดูแล : ให้ยอมรับทั้งความสำเร็จและความล้มเหลวอย่างเข้าใจ
พัฒนาการทางจิตใจ
บุคลิกภาพ : ไม่ต่างจากเดิม เพราะเชื่อว่ามีพื้นฐานตั้งแต่เริ่มต้นชีวิต
การเรียนรู้ : เริ่มลดลงเมื่อสูงอายุ ขึ้นอยู่กับสติปัญญา การศึกษา แรงจูงใจ
ความจำ : จำเรื่องราวในอดีตได้ดีแต่จำเรื่องราวใหม่ๆไม่ได้ดี
สติปัญญา : เริ่มลดลงหลังอายุ 30 และเกี่ยวข้องกับระดับการศึกษา การเรียนรู้ในอดีต
สมรรถภาพ : การรับรู้ข้อมูลและการนำไปใช้ลดลง
เจตคติ : แตกต่างกันในแต่ละบุคคล ได้รับอิทธิพลจากเพศ สังคมอาชีพ
การรับรู้ตนเองและความรู้สึกมีคุณค่า : หางานที่เหมาะสมที่จะช่วยเสริมคุณค่า เช่น การเลี้ยงสัตว์ การเป็นอาสาสมัครสังคม
บุคลิกภาพของผู้สูงอายุ
ผสมผสาน
Reorganizers : ค้นหากิจกรรมเพื่อปรับความสามารถ
Focused : มีกิจกรรมและระดับความพึงพอใจปานกลาง
Disengaged : ถอยตนเองออกจากสังคม มีกิจกรรมน้อยแต่พอใจสูง
ต่อต้าน
Holding on : เกลียดกลัว ความชรา พยายามยึดบุคลิกภาพของตนในวัยกลางคน
Constricted : เกลียด กลัวความชรา ชอบจำกีดบทบาทของตนเอง
เฉยชาและพึ่งพาคนอื่น
Succurance seeking : พึ่งพาคนอื่นเพื่อตอบสนองความต้องการของตนเอง
Apathy or Rocking chair : พฤติกรรมเฉยชามึนซึม ไม่ใส่ใจสิ่งแวดล้อม
ขาดการผสมผสาน
พบในผู้สูงอายุที่ไม่ปรับตัวให้ยอมรับในความชราของตนเองได้ ความพอใจต่อชีวิตอยู่ในระดับต่ำ การควคุมอารมณ์บกพร่อง
ลักษณะความเสื่อมทางสติปัญญา
ความสามารถในการใช้เหตุผลเสื่อมเร็วกว่าการคำนวณ
ความสามารถในการคิดเรื่องนามธรรมมีจำกัด
ความคิดสร้างสรรค์ลดลง
ความคิดอิสระลดลงต้องอาศัยบุคคลอื่นในการตัดสินใจ
ไม่เปลี่ยนแปลงวิธีการแก้ปัญหา
การเปลี่ยนแปลงด้านสังคม
ปัญหาที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงด้านสังคม
มีส่วนร่วมทางสังคมลดลง
มีกิจกรรมลดลงทำให้รู้สึกคุณค่าในตัวเองลดลง
ขาดการเรียนรู้แลกเปลี่ยน
สถานภาพและบทบาททางสังคม
การถูกถอดทิ้ง
การเสื่อมความเคารพ
ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงด้านสังคม
ปลดเกษียณหรือออกจากงาน : ปรับตัวไม่ทันกับความสูญเสีย เช่น สถานภาพ เพพื่อนสูง
สังคมครอบครัวเปลี่ยนไป : อยู่ลำพังถูกทอดทิ้ง การสูญเสียคู่ชีวิต
การเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจ : ถูกมองว่าขาดคุณค่า เป็นเพียงคนเฝ้าบ้าน
การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม : ล้าสมัยต่อความคิดใหม่ๆลูกหลานไม่เลี้ยงดูเพราะช่องว่างระหว่างวัย
การเปลี่ยนแปลงด้านจิตวิญญาณ
ปัจจัยอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงด้านจิตวิญญาณ
ความเชื่ออำนาจภายในตนเอง : เชื่อว่าสิ่งต่างๆที่เกิดเป็นผลมาจากตัวเอง
ความเชื่ออำนาจภายนอกตนเอง : เชื่อว่าสิ่งที่เกิดขึ้นกับตนไม่ได้เกิดจากตนเอง
ผลกระทบด้านจิตวิญญาณตอสุขภาพ
เชื่อว่าตนมีการป้องกันโรคที่ดี
เชื่อว่าตนหายจากโรคไดเร็ว
เชื่อว่าสุขภาพที่ดี ไม่ต้องแสวงหาความรู้เพิ่ม
เชื่อว่าเต็มใจในการรักษาตามคำแนะนำ
การพยาบาล
ให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุและครอบครัว ทั้งร่างกายและจิตใจ
ส่งเสริมการปรับตัวด้านติตสังคม เช่น การดูแลตนเอง การปรับตับเข้ากับสิ่งแวดล้อม
ช่วยเหลือยามเจ็บป่วย