Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
รูปแบบของงานวิจัย - Coggle Diagram
รูปแบบของงานวิจัย
ประเภทของการวิจัย
การนำผลการวิจัยไปใช้
วิจัยพื้นฐาน (basic or pure research) มุ่งสร้างทฤษฏี เพื่อเป็นพื้นฐานในการศึกษา
การวิจัยประยุกต์(applied research)เพื่อนำผลวิจัยที่เกิดขึ้นไปใช้ทำงานได้จริง
การวิจัยเชิงปฏิบัติการ(action research)นำผลมาแก้ไขข้อบกพร่องของหน่วยงาน
แบ่งตามวัตถุประสงค์ วิธีการนำเสนอ
การวิจัยขั้นสำรวจ (exploratory research) หาคำตอบเกี่ยวกับตัวแปรที่ศึกษาว่าเป็นอย่างไร เช่น จำนวน ร้อยละ มาก-น้อย
การวิจัยเชิงบรรยาย (descriptive research) เชิงสำรวจที่ไม่มีการทดลอง แต่สามารถเปรียบเทียบได้
การวิจัยเชิงอรรถาธิบาย (explanatory research) หาปัจจัยที่มีผลต่อตัวแปรได้ หาคำตอบเพื่ออธิบายความสัมพันธ์ตัวต่อแปร
การวิจัยเชิงคาดคะเน (predictive research) วิจัยที่บอกสิ่งที่ยังไม่เกิด แต่คาดไว้ว่าจะเกิดอย่างไร
การวิจัยเชิงวินิจฉัย (diagnostic research) เพื่อค้นหา สาเหตุของปัญหา
แบ่งสามารถในการควบคุมตัวแปร
การวิจัยเชิงทดลอง (experimental research) ควบคุมตัวแปรแทรกซ้อนได้
การวิจัยเชิงกึ่งทดลอง (quasi experimental research) ควบคุมได้บางส่วน เปรียบเทียบผลของ
การวิจัยเชิงธรรมชาติ (naturalistic research) ปล่อยให้เป็นไปตามธรรมชาติ และอภิปรายผลที่เกิดขึ้น
แบ่งตามระเบียบวิธีการวิจัย
การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์ (historical research) ศึกษาว่าในอดีตเกิดอะไรขึ้น หาความสัมพันธ์ตัวแปรในอดีตกับปัจจุบัน
การวิจัยเชิงบรรยาย (descriptive research) ไม่มีการทดลองใดๆ ศึกษาสิ่งที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน
การวิจัยเชิงทดลอง (experimental research) มีการทดลอง
การวิจัยเชิงย้อนรอย (expost facto research) ศึกษาจากผลไปหาเหตุ
การวิจัยเชิงสำรวจ (survey research) สำรวจทุกคน แต่คนทั่วไปไม่เคร่งครัดเรื่องนี้
การวิจัยเชิงประเมินผล (evaluative research) บริบทของงานเป็นอย่างไร วัตถุประสงค์กับปัญหาสอดคล้องกันไหม
ลักษณะของข้อมูล
การวิจัยเชิงปริมาณ (quantitative research)
การวิจัยเชิงคุณภาพ (qualitative research)
การวิจัยแบบผสม (mixed methods)
แบบคู่ขนาน
แบบตามลำดับก่อน-หลัง
การเก็บรวบรวมข้อมูล
การวิจัยจากเอกสาร เก็บข้อมูลจากเอกสาร
จากการสังเกต ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการสังเกต
การวิจัยแบบสำมะโน (Census research) วิจัยที่ผู้วิจัยทำการเก็บรวบรวมข้อมูลจากทุก ๆ หน่วยของประชาการ
การวิจัยแบบสำรวจจากตัวอย่าง (Sample survey research)
การศึกษาเฉพาะกรณี (Case study) จำกัดขอบเขตแคบๆ
การศึกษาแบบต่อเนื่อง (Panel study) เก็บข้อมูลเป็นระยะๆ
การวิจัยเชิงทดลอง (Experimental research)
กรอบแนวคิดในการวิจัย
Conceptualization
สร้างมโนทัศน์จากปรากฏการณ์ธรรมชาติ
ใช้ความรู้ที่ได้จากทฤษฎี งานวิจัยมาเขียน
เขียนแล้วได้เป็นกรอบแนวคิดเชิงทฤษฎี
Theoretical framework
เขียนแสดงความสัมพันธ์ตามทฤษฎีที่มีอยู่
เขียนครอบคลุมตัวแปรที่เกี่ยวข้อง
มักเขียนเป็น diagram
Conceptual framework
เขียนเฉพาะตัวแปรที่เกี่ยวข้อง
ใช้คำบรรยายประกอบแผนภาพ
เขียนอธิบายความสัมพันธ์ของตัวแปรทุกตัว
วิธีการเขียน
กำหนดขอบเขตการวิจัย
เปลี่ยนชื่อเรื่อง
ทำให้มีตัวแปรควบคุม
ทำให้อยู่ใน inclusion criteria
ข้อบกพร่องที่พบบ่อย
การทบทวนวรรณกรรมไม่ดีพอ จึง comment ไม่ได้
เขียนเป็นกระบวนการวิจัย
ใช้ theoretical concept มาเขียน
แสดงความสัมพันธ์ไม่ถูกต้อง