Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ - Coggle Diagram
พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่ง พ.ศ. 2545
หมวด1 สิทธิการรับบริการสาธารณสุข
มาตรา 6
บุคคลใดประสงค์จะใช้สิทธิตามมาตรา 5 ให้ยื่นคำขอลงทะเบียนต่อสำนักงานหรือหน่อยงานที่สำนักงานกำหนดเพื่อเลือกหน่วยบริการ เป็นหน่วยบริการประจำ
มาตรา 9
ขอบเขตของสิทธิรับบริการสาธารณสุขของบุคคลดังต่อไปนี้เป็นไปตามกฏหมาย กฏระเบียบประกาศ มติคณะรัฐมนตรีหรือคำสั่งใด ๆ ที่กำหนดขึ้นสำหรับส่วนราชการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจหรือหน่วยงานอื่นของรัฐ และให้ใช้สิทธิดังกล่าวตามพระราชบัญญัติ
มาตรา 5
บุคคลทุกคนมีสิทธิได้รับบริการสาธารณสุขที่มีมาตรฐานและมีประสิทธิภาพตามที่กำหนดโดยพระราชบัญญัติ
หมวด 2 คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา 17 การประชุมคณะกรรมการต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมการทั้งหมดจึงจะเป็นองค์ประชุม
มาตรา 18 คณะกรรมการมีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้
ออกระเบียบเกี่ยวกับการรับเงิน การจ่ายเงินและการรักษาเงินกองทุนรวมทั้งการจัดหาประโยชน์ตามมาตรา 40
กำหนดหลักเกณฑ์วิธีการ และเื่อนไขและกำหนดคุณสมบัติหรือลักษณะต้องห้ามของเลขาธิการตามมาตรา 32
กำหนดหลักเกณฑ์การดำเนินงานและการบริหารจัดการกองทุน
กำหนดประเภทและขอบเขตในการให้บริการสาธารณสุขที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิตและอัตราค่าบริการสาธารณสุขตามมาตรา 5
ให้คำแนะนำต่อรัฐมนตรีในการแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่ออกกฎกระทรวงและประกาศเพื่อปฏิบัติการพระราชบัญญัตินี้
กำหนดมาตรฐานการให้บริการสาธรณสุขของหน่วยบริการ และเครือข่ายหน่วยบริการและกำหนดมาตรการในการดำเนินงานเกี่ยวกับหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้มีประสิทธิภาพ
พระราชบัญญัติสถานพยาบาลพ.ศ. 2541
หมวด 1 คณะกรรมการสถานพยาบาล
มาตรา 8
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา 7 อยู๋ในตำแหน่งคราวละสองปีกรรมการซึ่งพ้นจากตำแหน่งตามวาระอาจได้รับแต่งตั้งอีกได้ในกรณีที่มีการแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเพิ่มขึ้นอีกในระหว่างที่กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิอื่นซึ่งได้แต่งตั้งไว้แล้วยังมีวาระอยู่ในตำแหน่ง
มาตรา 9 นอกจากการพ้นจากตำแหน่งตามวาระตามมาตรา 8 กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา 7 พ้นจากตำแหน่ง เมื่อ
ลาออก
รัฐมนตรีให้ออก
เป็นบุคคลล้มละลาย
เป็นคนไร้ความสามารถหริอคนเสมือนไร้ความสามารถ
พ้นจากการเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะ ผู้ประกอบวิชาชีพผู้ดำเนินการในวิชาชีพ
ตาย
หมวด 2 การประกอบกิจการสถานพยาบาลและการดำเนินสถานพยาบาล
มาตรา 14 สถานพยาบาลมี 2 ประเภทดังต่อไปนี้
สถานพยาบาลประเภทที่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืน
ลักษณะของสถานพยาบาลแต่ละประเภทตามวรรคหนึ่งและลักษณะการให้บริการของสถานพยาบาลให้เป็นไปตามที่กำหนดในกฏกระทรวง
สถานพยาบาลประเภทที่ไม่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืน
มาตรา 15 ให้รัฐมนตรีโดยคำแนะนำของคณะกรรมการมีอำนาจประกาศกำหนดมาตรฐานการบริการของสถานพยาบาล
มาตรา 16 ห้ามมิให้บุคคลใดประกอบกิจการสถานพยาบาล เว้นแต่ได้รับใบอนุญาตจากผู้อนุญาต การขอ การออกใบอนุญาตและการประกอบกิจการสถานพยาบาลประเภทใดให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่กำหนดในกฏกระทรวง
หมวด 2 คณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ
พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2558
หมวด 2 คณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ
มาตรา 11 ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่ง เรียกว่า คณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ
มาตรา 12 กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละสามปี ในกรณีที่กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตำแหน่งก่อนครบวาระ ให้รัฐมนตรีแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิด้านเดียวกันแทนภายในสามสิบวันนับตั้งแต่วันที่พ้นจากตำแหน่งและให้ให้ผู้ได้ได้รับแต่งให้ผู้ทรงคุณวุฒิด้านเดียวกันแทนภายในสามสิบวันนับตั้งแต่วันที่พ้นจากตำแหน่งและให้ให้ผู้ได้ได้รับแต่งให้ดำรงตำแหน่งแทนอยุ่ในตำแหน่งเท่ากับวาระที่เหลืออยู่ของกรรมการซึ่งตนแทน
หมวด 1 บททั่วไป
มาตรา 6
เพื่อประโยชน์ในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อให้รัฐมนตรีโดยคำแนะนำของคณธกรรมการมีอำนาจประกาศกำหนด
มาตรา10
ในกรณีที่ข้อมูลจากการเฝ้าระวัง การสอบสวนโรคหรือเเจ้งหรือรายงาน
ตามพระราชบัญญัตินี้ ซึ่งมีการพาดพิงถึงตัวบุคคลทั้งที่ระบุตัวได้หรือไม่สามารถระบุตัวได้
จะต้องเก็บเป็นความลับและประมวลผลโดยไม่เปิดเผยชื่อ
มาตรา 8
ที่อาจจะเข้ามาภายในราชอาณาจักร ให้รัฐมนตรีโดยคำแนะนำของคณะกรรมการด้านวิชาการมีอำนาจประกาศ
ท้องที่หรือที่หรือเมืองท่าใดนอกราชอาณาจักร และยกเลิกประกาศเมื่อสภาวการณ์ของโรคนั้น
เพื่อประโยชน์ในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่ออันตรายหรือโรคระบาด
สงบลงหรือกรณีมีเหตุอันสมควร
พระราชบัญญัติ พ.ศ. 2510
หมวด 1 คณะกรรมการยา
มาตรา 7
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิอยู่ในตำแหน่งคราวละสองปีกรรมการที่พ้นจากตำแหน่งอาจได้รับการแต่งตั้งอีก
มาตรา 8 นอกจากการพ้นตำแหน่งตามมาตรา 7 กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตำแหน่งเมื่อ
รัฐมนตรีให้ออก
เป็นบุคคลไร้ความสามารถหรือเสมือนไร้ความสามารถ
ลาออก
บุคคลล้มละลาย
ตาย
ได้รับโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุกเว้นแต่มีความผิดลหุโทษหรือความผิดกระทำโดบประมาท
หมวดที่ 2 ขออนุญาตและออกใบอนุญาติเกี่ยวกับยาแผนปัจจุบัน
มาตรา 12
ห้ามมิให้ผู้ใด ขายผลิตภัณฑ์หรือนำเข้ามาในราชอาณาจักรซึ่งยาแผนปัจจุบัน เว้นแต่จะได้รับใบอนุญาตจากผู้อนุญาต
พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธฺ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. 2559
หมวด 1 คณะกรรมการวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท
มาตรา 13 ให้คณะกรรมการมีอำนาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาศึกษาหรือวิจัยเกี่ยวกับเรื่องที่อยู่ในอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการและให้นำควมาในมาตรา 11 มาใช้บังคับแก่การประชุมของคณะอนุกรรมการโดยอนุโลม
หมวด 2 การขออนุญาตและการออกใบอนุญาตเกี่ยวกับวัตถุออกฤทธ์
มาตรา 15 ห้ามผู้ใดผลิต นำเข้าหรือส่งออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 2 เว้นแต่ได้รับใบอนุญาตเฉพาะกรณีดังต่อไปนี้
เป็นผู้ได้รับมอบหมายจากกระทรวงสาธารณสุขโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ
เป็นการผลิตเพื่อส่งออกและส่งออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 2 บางชนิดที่รัฐมนตรีประกาศระบุชื่อตามมาตรา 7
มีความจำเป็นเพื่อประโยชน์ของทางราชการ
มาตรา 16 ห้ามผู้ใดขอบวัตถุออกฤทธิ์ในประเภทที่ 2 เว้นแต่ได้รับใบอนุญาตการขออนุญาตและการออกใบอนุญาตให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่กำหนดในกฏกระทรวง
มาตรา 17 ผู้อนุญาตอาจอนุณาตให้ยานพหนะที่ใช้ในการขนส่งสาระารณะระหว่างประเทศที่จดทะเบียนในราชอาณาจักร นำเข้าหรือส่งออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 2 ประเภท 3 ประเภท 4 ในปริมาณเท่าที่จำเป็นต้องใช้ประจำในการปฐมพยาบาลในกรณีเกิดเหตุฉุกเฉินในยานพาหนะนั้น
พระราชบัญญัติเครื่องสำอาง พ.ศ. 2558
หมวด 2 การจดแจ้งเครื่องสำอาง
มาตรา 14 ผู้ใดประสงค์จะผลิตเพื่อขาย นำเข้าเพื่อขายหรือรับจ้างผลิตเครี่องสำอางต้องแจ้งรายละเอียดของเครื่องสำอางต่อผู้รับจดแจ้งจึงจะผลิตหรือนำเข้าเครื่องสำอางนั้นได้
มาตรา 16 ผู้ซึ่งผลิตสินค้าหรือนำเข้าเครื่องสำอางเพื่อเป็นตัวอย่าง เพื่อจัดนิทรรศการหรือเพื่อใช้ในการศึกษา วิจัยหรือวิเคราะห์ทางวิชาการ ให้ได้รับยกเว้นไม่ต้องขอรับใบจดแจ้งสำหรับเครื่องสำอางดังกล่าวตามมาตรา 14
หมวด 1 คณะกรรมการเครื่องสำอาง
มาตรา 12 คณะกรรมการมีอำนาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณา ศึกษา หรือวิจัยเกี่ยวกับเรื่องที่อยู่ในอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการหรือปฏิบัติการอย่างใดอย่างหนึ่งตามที่คณะกรรมการมอบหมาย
พระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ. 2551
ส่วนที่ 2 คณะกรรมการสถานบำบัดรักษา
มาตรา 15 ผู้ป่วยย่อมมีสิทธิดังต่อไปนี้
ได้รับการบำบัดรักษาตามมาตรฐานทางแการแพทย์ โดยคำนึงถึงศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ได้รับการปกปิดข้อมูลเกี่ยวกับการเจ็บป่วยและการรักษา
หมวด 1 คณะกรรมการ
มาตรา 10
กรรมการมีหน้าที่ต่อไปนี้
กำหนดนโยบายและมาตรการในการคุ้มครองสิทธิของบุคคลวางหลักเกณฑ์อละวิธีการดำเนินงานของคณะกรรมการสถาบันบำบัดรักษากำหนดหนังสือให้ความยินยอมรับการบำบัดรักษาตามมาตรา 20 กำหนดหน่วยงานด้านสงเคราะห์และสวัสดิการตามมาตรา 40
มาตรา 7
กรรมการตามมาตรา 5 มีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละ3 ปี และจะดำรงตำแหน่งเกิน 2 วาระติดต่อกันไม่ได้
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522
หมวด 1 คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค
มาตรา 17
คณะกรมการและคณะกรรมการเฉพาะเรื่องมีอำนาจสั่งให้บุคคลหนึ่งบุคคลใดส่งเอกสารหรือข้อมูลที่เกี่ยวกับเรื่องที่ผู้ร้องทุกข์หรือเรื่องอื่นใดที่เกี่ยวกับการคุ้มครองสิทธิของผู้บริโภคมาพิจารณาได้ในการนี้จะเรียกบุคคลที่เกี่ยวข้องมาชี้แจงด้วยก็ได้
มาตรา 19 ให้จัดตั้งสำนักงานคณะกรรมการการคุ้ครองผู้บริโภคขึ้นในสำนักนายกรัฐมนตรีให้มีเลขาธิการคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคมีอำนาจหน้าที่ควบคุมดูแลโดยทั่วไปและรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของสำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค
มาตรา 18
ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้คณะกรรมการเฉพาะเรื่องต้องให้โอกาสแก่ผู้ถูกกล่าวหาหรือสงสัยว่าการกระทำการอันเป็นการละเมิดสิทธิของผู้บริโภคเพื่อชี้แจงข้อเท็จจริงและแสดงความคิดเห็นตามสมควรเว้นแต่ในกรณีที่จำเป็นและเร่งด่วน
หมวด 2 การคุ้มครองผู้บริโภค
มาตรา 21ในกรณีที่กฏหมายว่าด้วยการใดได้บัญญัติเรื่องใดไว้โดย เฉพาะแล้วบังคับตามบทบัญญัติแห่งกฏหมายว่าด้วยการนั้นและให้นำบทบัญญัติในหมวดนี้ไปใช้บังคับได้เท่าที่ไม่ซ้ำหรือขัดกับบทบัญญัติดังกล่าว หากการฝ่าฝืนบทบัญญัติที่นำไปใช้นั้นเป็นความผิดและมีโทษตามพรระราชบัญญัตินี้ผู้กระทำความผิดต้องรับโทษตามพระราชบัญญัตินี้ด้วย
มาตรา 23 การโฆษณาจะต้องไม่กระทำด้วยวิธีการอันอาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพร่างกายหรือจิตใจ หรืออันอาจก่อให้เกิดความรำคาญแก่ผู้บริโภค ทั้งนี้ตามกำหนดในกฏกระทรวง
มาตรา 22 การโฆษณาจะต้องไม่ใช้ข้อวคมาที่ไม่เป็นธรรมต่อผู้บริโภคหรือใช้ข้อความที่อาจก่อให้เกิดผลเสียต่อสังคมเป็นส่วนร่วม ทั้งนี้ไม่ว่าข้อความดังกล่าวนั้นจะเป็นข้อความเกี่ยวกับแหล่งกำเนิด สภาพคุรภาพ หรือลักษณะของสินค้าหรือบริการตลอดจนการส่งมอบการจัดหา หรือการใช้สินค้าหรือบริการ
พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550
หมวด ๑ สิทธิและหน้าทีด้านสุขภาพ
มาตรา 5 บุคคลมีสิทธิในการดํารงชีวิตในสิงแวดล้อมและสภาพแวดล้อมทีเอือต่อสุขภาพบุคคลมีหน้าทีร่วมกับหน่วยงานของรัฐในการดําเนินการให้เกิดสิงแวดล้อมและสภาพแวดล้อมตามวรรคหนึ่ง
มาตรา 6 สุขภาพของหญิงในด้านสุขภาพทางเพศและสุขภาพของระบบเจริญพันธุ์ซึงมีความจําเพาะ ซับซ้อนและมีอิทธิพลต่อสุขภาพหญิงตลอดช่วงชีวิต ต้องได้รับการสร้างเสริม และคุ้มครองอย่างสอดคล้องและเหมาะสมสุขภาพของเด็ก คนพิการ คนสูงอายุ คนด้อยโอกาสในสังคมและกลุ่มคนต่าง ๆ ทีมีความจําเพาะในเรืองสุขภาพต้องได้รับการสร้างเสริมและคุ้มครองอย่างสอดคล้องและเหมาะสมด้วย
มาตรา 7 ข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคล เป็นความลับส่วนบุคคล ผู้ใดจะนําไปเปิดเผยในประการทีน่าจะทําให้บุคคลนั้นเสียหายไม่ได้ เว้นแต่การเปดเผยนันเป็นไปตามความประสงค์ของบุคคล นั้นโดยตรง หรือมีกฎหมายเฉพาะบัญญัติให้ต้องเปดเผย แต่ไม่ว่าในกรณีใด ๆ ผู้ใดจะอาศัยอํานาจหรือสิทธิตามกฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการหรือกฎหมายอืนเพือขอเอกสารเกียวกั บข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคลทีไม่ใช่ของตนไม่ได้
มาตรา 8 ในการบริการสาธารณสุข บุคลากรด้านสาธารณสุขต้องแจ้งข้อมูลด้านสุขภาพทีเกียวข้องกับการให้บริการให้ผู้รับบริการทราบอย่างเพียง พอทีผู้รับบริการจะใช้ประกอบการตัดสินใจในการรับหรือไม่รับบริการใด และในกรณีทีผู้รับบริการปฏิเสธไม่รับบริการใดจะให้บริการนั้นมิได้
หมวด 3 สำนกงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา 28 รายได้ของสำนักงานประกอบด้วย
เงินอุดหนุนทั่วไปที่รัฐบาลจัดสรรให้ตามความเหมาะสมเป็นรายปี
รายได้จากการดำเนินกิจการของสำนักงาน
เงินหรือทรัพย์สินอื่นที่ตกเป็นของสำนักงาน
ดอกผลของเงินหรือทรัพย์สินตามที่ว่ามา
เงินหรือทรัพย์สินที่มีผู้บริจาคให้
หมวด ๒ คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา ๑๕ การเลือกกรรมการตามมาตรา ๑๓ (๖) ให้ดําเนินการ
(๒) ให้นายกเทศมนตรีทุกแห่งเลือกกันเองให้ได้กรรมการหนึ่งคน
(๓) ให้นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดทุกแห่งเลือกกันเองให้ได้กรรมการหนึงคน
(๑) ให้ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร นายกเมืองพัทยาและหัวหน้าผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถินทีมีกฎหมายจัดตังขึนเป็นการเฉพาะทํานองเดียวกันดําเนินการเลือกกันเองให้ได้กรรมการหนึงคน
(๔) ให้นายกองค์การบริหารส่วนตําบลทุกแห่งเลือกกันเองให้ได้กรรมการหนึงคน