Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ - Coggle Diagram
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
ความต่างศักย์ไฟฟ้า
- เป็นความแตกต่างของพลังงานไฟฟ้าระหว่างจุดสองจุด ทำให้เกิดกระแสไฟฟ้า
- เครื่องวัดความต่างศักย์ไฟฟ้าเรียกว่า โวลต์มิเตอร์ มีหน่วยเป็น โวลต์ ต่อแบบขนาน
กระแสไฟฟ้า
- เกิดขึ้นได้เมื่อมีความต่างศักย์ต่างกันสองบริเวณ
- กระแสไฟฟ้าจะไฟลผ่านวัตถุที่มีสมบัตินำไฟฟ้า ซึ่งจะไหลผ่านได้มากหรือน้อยขึ้นอยู่กับลักษณะของตัวนำไฟฟ้า
- เครื่องมือที่ใช้วัดคือ แอมมิเตอร์ มีหน่วยเป็น แอมแปร์ ต่อแบบอนุกรม
ไฟฟ้ากระแสตรง
- กระแสไฟฟ้าไหลในทิศทางเดียวตลอด
- ไหลจากจุดที่มีศักย์ไฟฟ้าต่ำไปสูง หรือจากขั้วบวกไปขั้วลบ
ไฟฟ้ากระแสสลับ
- เกิดจากการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอน
- มีทิศทางกลับไปมาตลอดเวลา
ความต้านทานไฟฟ้า
- เป็นสมบัติของตัวนำไฟฟ้าที่ยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านไปมากหรือน้อย
- ตัวนำไฟฟ้าที่มีความต้านทานต่ำจะยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้มาก
- ตัวนำไฟฟ้าที่มีความต้านทานไฟฟ้าสูงจะไม่ยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่าน
- เครื่องมือวัดคือ มัลติมิเตอร์ มีหน่วยเป็น โอห์ม
ปัจจัยที่มีผลต่อคสามต้านทานไฟฟ้า
- ชนิดของตัวนำไฟฟ้า : ฉนวนไฟฟ้า ฉนวนไฟฟ้า
- ขนาดของนัวนำไฟฟ้า : ขนาดเล็กมีความต้านทานสูง ขนาดใหญ่มีความต้านทานต่ำ
- ความยาวของตัวนำไฟฟ้า : ความยาวน้อยมีความต้านนทานต่ำ ควมายาวมากมีความต้านทานสูง
- อุณหภูมิ : ตัวนำไฟฟ้าที่เป็นโลหะบริสุทธิ์และโลหะผสม เมื่ออุณหภูมิเพิ่ม ความต้านทานก็จะเพิ่มขึ้น
-
กำลังไฟฟ้า
ค่าของพลังงานไฟฟ้าที่ถูกใช้ไปใน 1 วินาที มีหน่วยเป็น วัตต์ หรือจูลต่อวินาที เขียนสมการได้ดังนี้ P = W/t
กำลังไฟฟ้าจะมีค่ามากหรือน้อยชึ้นอยู่กับปริมาณกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านเครื่องใช้ไฟฟ้า และความต่างศักย์ไฟฟ้าที่เครื่องใช้ไฟฟ้านั้นๆต่ออยู่ เขียนสมการได้คือ P = VI = I^2R = V^2 /R
การคำนวณค่าไฟฟ้า
- การคิดค่าไฟฟ้า คือ การคิดราคาพลังงานไฟฟ้าที่ถูกใช้ไปตามอัตราที่การไฟฟ้ากำหนด จะคิดเป็นกิโลวัตต์ชั่วโมงหรือหน่วย
- ปริมาณพลังงานที่ใช้ขึ้นอยู่กับกำลังและเวลา สมการคือ W = Pt
- ค่าไฟฟ้าฐาน
แบบไม่เกิน 150 หน่วยต่อเดือน
แบบเกิน 150 หน่วยต่อเดือน
- ค่าบริการรายเดือน
ประเภทที่อยู่อาศัย ใช้ไฟฟ้าไม่เกิน 150 หน่วยต่อเดือนจะเสียค่าบริการ 8.19 บาทต่อเดือน ถ้าเกิน 150 หน่วยต่อเดือน จะเสียค่าบริการ 40.90 บาทต่อเดือน
- ค่าไฟฟ้าแปรผัน
มีค่าไม่คงที่ ขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย
- ภาษีมูลค่าเพิ่ม
คิดรวมกับค่าไฟฟ้าแปรผันในอัตราร้อยละ 7
การต่อวงจรไฟฟ้า
แบบอนุกรม
- เป็นการต่ออุปกรณต่างๆ ในวงจรเรียงกันเป็นสายเดียว
- กระแสไฟฟ้าจะไหลในทิศทางเดียวกันตลอด
- หากหลอดใดเสีย จะทำให้ทั้งวงจรดับ
แบบขนาน
- เป็นการต่อวงจรไฟฟ้า โดยที่กนะแสไฟฟ้ามีการแยกไหออกได้หลายทางและช่วงสุดท้ายจะไหลมารวมกัน
- เมื่อหลอดใดเสีย จะไม่ส่งผลกับหลอดอื่นๆ
อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
ตัวต้านทาน
- ตัวต้านทานชนิดค่าคงที
- ตัวต้านทานชนิดปรับค่าได้
- ตัวต้านทานไวความร้อน
- ตัวต้านทานไวแสง
ไดโอด
- เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านทางเดียว
- ทำจากสารกึ่งตัวนำ 2 ชนิด
- ประกอบด้วย 2 ขั้ว คือ ขั้วบวก ขั้วลบ
- ไดโอดธรรมดา
- ไดโอดเปล่งแสง
ทรานซิสเตอร์
- สามารถนำไปใช้ประโยชน์แทนหลอดสุญญากาศได้
- โครงสร้างประกอบด้วยสารกึ่งตัวนำ 3 ชั้น
ซิลิคอนชิป
- การนำทรานซิสเตอร์มาบังกรีไว้กับชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ ซึ่งทำเป็นแผงวงจร
การต่อวงจรอิเล็กทรอนิกส์
- การต่อวงจรตัวต้านทาน ต่อแบบอนุกรม ตัวต้านทานจะทำการควบคุมปริมาณการไหลของกระแสไฟฟ้า
- การต่อวงจรไดโอดธรรมดา ต่อตามทิศทางการไหลของกระแสไฟฟ้า
- การต่อวงจรไดโอดเปล่งแสง ต้องต่อตัวต้านทานไว้ในวงจรด้วย เพื่อลดปริมาณการไหลของกระแสไฟฟ้าให้พอเหมาะ
- การต่อวงจรทรานซิสเตอร์
-